Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาวะมลพิษ, มลพิษ, ภาวะ , then ภาว, ภาวะ, ภาวะมลพิษ, มลพิษ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาวะมลพิษ, 227 found, display 1-50
  1. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  2. ภาว : (วิ.) มี, เป็น อุ. มูลภาว เป็นรากเหง้า, ปรากฏ, เกิด, เจริญ, สรรเสริญ.
  3. นตฺถิภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง... ไม่มีอยู่, ภาวะ แห่ง...ไม่มีอยู่, ความไม่มี.
  4. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  5. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  6. ทิพฺพภาว : ป. ภาวะที่เป็นทิพย์, ความเป็นของทิพย์
  7. เทฺวภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...สอง. เทวภาวะ คือการทำอักขระให้เป็นสอง, วิ. ทฺวินฺนํ ภาโว ทฺวิภาโว. โส เอว เทฺวภาโว. รูปฯ ๔๐.
  8. อพฺยยีภาว : (ปุ.) ความเป็นของคงที่, ฯลฯ, อัพยยีภาวะชื่อของสมาสอย่างหนึ่ง.
  9. กปฺปิยโวหาร : (ปุ.) ถ้อยคำอันควร, ถ้อยคำ อันสมควร, กัปปิยโวหาร คือถ้อยคำที่ควรใช้พูด ถ้อยคำที่ภิกษุใช้พูดให้เหมาะ สมแก่ภาวะไม่ผิดพระวินัย ในเมื่อต้องการให้ผู้อื่น (มิใช่บรรพชิต) ทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด เช่นพูดว่า หญ้าข้างกุฏิรกเด็กหรือคนวัด ถอนหรือดายหญ้าให้ ภิกษุไม่ต้องอาบัติใน เพราะพรากของเขียว ดังนี้เป็นต้น.
  10. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  11. กุลีนก : (ปุ.) ม้าอาชาไนย, ม้าตัวรู้จักเหตุและ ภาวะมิใช่เหตุ.
  12. คชฺช : (ปุ.) ภาวะเกิดที่ช้าง (คือความเมา) วิ. คเช ชายตีติ คชฺโช. มโท. ณฺย ปัจ.
  13. คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
  14. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  15. จงฺโกฏก จงฺโคฎก : (ปุ.) ผอบ (ตลับมีเชิง มี ยอด), หีบ, เตียบ (ตะลุ่มปากผายมีผ้า ครอบ สำหรับใส่ของกิน). กุฎฺ เฉทเน, โณ, สกตฺเถโก. เทว๎ภาวะ ก นิคคหิต- อาคม. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ค.
  16. จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
  17. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  18. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  19. ชคตี : (อิต.) แผ่นดิน. ภาคพื้น. วิ. คจฺฉนฺติ ยสฺสํ สา ชคตี. คมฺ ธาตุ อนฺตปัจ. เท๎วภาวะ ค แปลงเป็น ช ลบ นฺ และ มฺ อี อิต. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ เป็น ชคติ ชคฺคติบ้าง.
  20. ชฆน : (นปุ.) เอว, ตะโพก. วิ. หญฺญตีติ ชฆนํ. หนฺ หึสาคตีสุ, อ. เท๎วภาวะ ห แปลงเป็น ช แปลง ห ตัวธาตุเป็น ฆ.
  21. ชชฺชร : (วิ.) แก่มาก, เก่ามาก, คร่ำคร่า, ชำรุด, ทรุดโทรม. ชรฺ วโยนิมฺหิ, อ. เท๎วภาวะ ช ซ้อน ชฺ
  22. ชิคจฺฉา ชิฆจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาเพื่อ อันกิน, ความปรารถนาเพื่อจะกิน, ความอยากจะกิน, ความอยากข้าว, ความอยาก, ความหิว. วิ. ฆสิตุ มิจฉา ชิฆจฺฉา. ฆสฺ อทเน, โฉ, อิจฺฉตฺเถ โฉ. เทวภาวะ ฆ แปลง สฺ เป็น จฺ ศัพท์แรก แปลง ฆ เป็น ค รูปฯ ๕๘๓. ส. ชิฆตฺสา.
  23. ชิคุจฺฉ : (วิ.) ติเตียน, เกลียด, น่าเกียด, ชัง, น่า ชัง. คุปฺ กุจฺฉเน, โฉ. เทวภาวะ คุ แปลง คุ เป็น ชุ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ปฺ เป็น จฺ.
  24. ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
  25. ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
  26. ฌาม : (ปุ.) การเผา. ฌาปฺ+ต ปัจ. แปลงเป็น ม ลบ ปฺ. ต ปัจ. ลงในภาวะ
  27. ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
  28. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  29. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  30. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  31. ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  32. ทท : (ปุ.) การให้, บุคคลผู้ให้. ทา ทาเน, อ. เท๎วภาวะ ทา รัสสะ อา ทั้งสอง หรือตั้ง ทท.
  33. ทธิ : (นปุ.) นมส้ม, นมเปรี้ยว. วิ. ฆต มาทธาตีติ ทธิ. ธา ธารเณ, อิ. เท๎วภาวะ ธา รัสสะ แปลง ธ เป็น ท. สัททนีติ วิ. ชนสฺส ตุฏฺฐึ ทธเตติ มธฺ ธารเณ, อิ.
  34. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  35. ทิช : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว. ชุ ทิตฺติยํ, อ. เทว๎ภาวะ ชุ แปลง อุ เป็น อิ เป็น ชิ แปลง ชิ เป็น ทิ.
  36. ทินฺทิภ : (ปุ.) นกต้อยตีวิด, นกกระต้อยตีวิด, นกกระเรียน. ทิภฺ สนฺทพฺเภ, อ. เท๎วภาวะ ทิ นิคคหิตอาคม. นกตระกุม ก็แปล.
  37. ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
  38. ทีฆตา : (อิต.) ความยาว. ตา ปัจ ลงในภาวะ.
  39. ทุกฺขธมฺม : ป. ภาวะที่มีความทุกข์เป็นธรรมดา, ความทุกข์
  40. โทวจสฺสตา : อิต. ภาวะแห่งความเป็นคนดื้อรั้น
  41. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  42. ธุต : (ปุ.) ภาวะอันขจัดซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล วิ, อกุสสธมฺเม ธุนาตีติ ธุโต, ธุ วิธุนเน, โต.
  43. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  44. นิชิคึสน : (นปุ.) การแสวงหา, ความแสวงหา. นิ+หรฺ+ส และ ยุ ปัจ. เท๎วภาวะ ห แปลง หรฺ เป็น คึ แปลง ห เป็น ช เอา อ ที่ ช เป็น อิ.
  45. นิติภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลตาม กฎหมาย, ภาวะตามกฎหมาย, นิติภาวะ. ไทย นิติภาวะคือ ความเป็นผู้มีอายุตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ให้มีความสามารถ เต็มที่ตามกฎหมาย.
  46. ปฏิทุกฺขาปนตา : อิต. ภาวะที่กลับทำให้เกิดมีความทุกข์ขึ้นใหม่อีก
  47. ปมฺปฏก : (ปุ.) ลิงลม, นางอาย. ปฏฺ คติยํ. ณฺวุ. เท๎วภาวะ ป นิคคหิตอาคม.
  48. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  49. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  50. พฺรหฺมปตฺต : ค. ถึงภาวะแห่งพรหม, ถึงความเป็นผู้ประเสริฐ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-227

(0.0687 sec)