Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาษีมูลค่าเพิ่ม, มูลค่า, เพิ่ม, ภาษี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาษีมูลค่าเพิ่ม, 47 found, display 1-47
  1. อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
  2. โอทหติ : ก. ตั้งลง, วางลง, เติม, นำมา, เพิ่ม, ตั้งใจ
  3. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  4. อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
  5. เกณิ : (อิต.) ภาษี, ส่วย.
  6. ทกฺขิณานุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่ง ทักษิณา, ทักขิณานุปทาน ทักษิณา- นุปทาน คือ การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่ม ให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้วหรือการทำบุญทุกๆ เจ็ดวัน นอกจากเจ็ดวันแรก ก่อนครบ ๕๐ วัน มักทำเป็นการภายในไม่บอกแขก.
  7. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  8. ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
  9. ปทาน : (นปุ.) การให้, การเพิ่มให้. ป+ทา+ยุ ปัจ.
  10. ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
  11. พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
  12. พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
  13. พลิปีฬิต : ค. ถูกเบียดเบียนด้วยภาษี, มีความเดือดร้อนเพราะถูกเก็บภาษี
  14. พลิสาธก : ค. ผู้เก็บภาษี
  15. พลิหรณ : นป. การรวบรวมภาษี, การเก็บภาษี
  16. พหลตฺต : นป. ความหนา, ความมีมาก; การเพิ่มขึ้น
  17. สงฺกลน : นป. การบวก, การเพิ่ม, การเก็บ
  18. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  19. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  20. สุงฺกฆาต : (ปุ.) สุงกฆาตะ ชื่ออวหาร (การลัก) ชนิดหนึ่ง คือการลักนำของผ่านด่านภาษี หรือของมากซ่อนเสียให้เห็นแต่น้อย.
  21. สุงฺกฏฺฐาน : นป. ที่เสียภาษี
  22. สุงฺกิก : ป. ผู้เก็บภาษี, ผู้ตรวจภาษี
  23. สุเมรุ : (ปุ.) สุเมรุ ชื่อภูเขา, ภูเขาสุเมรุ. วิ. มินาติ สพฺเพ ปพฺพเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ. มิ หึสายํ, รุ. ที่เป็น สุเมรุ เพราะเพิ่มอุปสรรค สุ. อุปสคฺเคน วฑฺฒิตํ. ส. สุเมรุ.
  24. อคฺฆวฑฺฒน : (นปุ.) การเพิ่มราคา, การขี้นราคา.
  25. อธิกมาส : (ปุ.) เดือนเกิน, เดือนที่เพิ่มเข้ามา, อธิกมาสคือเดือนที่เพิ่มเข้ามา ปีนั้นมี ๑๓เดือน คือมีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ต้น หรือ เดือน ๘ แรก กับเดือน ๘ หลัง.
  26. อธิกรสุทิน : (นปุ.) อธิกสุรทิน.คือวันที่เพิ่มขึ้นทางสุริยคติอีก ๑ วันท้ายเดือนกุมภาพันธ์ปีนั้นเดือนกุมภาพันธ์จึงมี ๒๙ วัน
  27. อธิกวาร : (ปุ.) วันเกิน, วันที่เพิ่มเข้ามา, อธิกวารคือวันที่เพิ่มเข้ามาทางจันทรคติอีก ๑ วันท้ายเดือน ๗ ปีนั้นเดือน ๗ จึงมี๓๐ วัน.
  28. อนุททาติ : ก. ยอมให้, เพิ่มให้ ; อนุญาต
  29. อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
  30. อนุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มเติม, การเพิ่มให้.อา+อุป+ทานนฺอาคม.
  31. อนุปทินฺน : กิต. มอบให้, เพิ่มให้, อุทิศ
  32. อนุปเทติ : ก. เพิ่มให้, อุดหนุน
  33. อนุปฺปทชฺชุ : ก. พึงเพิ่มให้, พึงสนับสนุน, พึงมอบให้
  34. อนุปฺปทาติ : ก. เพิ่มให้, สนับสนุน, มอบ, บริจาค
  35. อนุปฺปทาตุ : ป. ผู้เพิ่มให้, ผู้สนับสนุน, ผู้มอบให้
  36. อนุปฺปทาน : นป. การเพิ่มให้, การสนับสนุน, การมอบให้
  37. อนุปฺปทินฺน : กิต. ถูกเพิ่มให้, ถูกมอบให้
  38. อนุปเวจฺฉติ : ก. โปรยปราย, เพิ่มให้, สละ
  39. อนุพลปฺปทาน : (นปุ.) การเพิ่มให้ซึ่งกำลังโดยลำดับ, การตามเพิ่มกำลังให้.
  40. อภิกฺกมติ : ก. ก้าวไป, ล่วงไป, เพิ่มขึ้น
  41. อภิวุทฺธิ : อิต. ความเจริญรุ่งเรือง, ความเพิ่มขึ้น
  42. อายกมฺมิก : ป. ผู้รวบรวมผลประโยชน์, ผู้เก็บภาษี
  43. อุตฺตโรตฺตร : ก. วิ. ยิ่งๆ ขึ้น, เพิ่มขึ้นๆ
  44. อุเทติ, - ทยติ : ก. ขึ้นไป, เกิดขึ้น, เพิ่มขึ้น
  45. อุปพฺรูหน : นป. ความเจริญ, การเพิ่มขึ้น, การขยายตัว
  46. อุปาหาร : ป. การนำเข้ามา, การเพิ่มเข้ามา
  47. เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
  48. [1-47]

(0.0113 sec)