Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ภาส , then ภาษ, ภาส, ภาสา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ภาส, 46 found, display 1-46
  1. ภาส : (วิ.) กล่าว, บอก, พูด. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ.
  2. ภาสปกฺขิ : (ปุ.) นกแซงแซว, นกตระไน, นกกระไน. วิ. สุนฺทรากาเรน ปกฺเขน ยุตฺโต สกุโณ ปกฺขิ ภาสปกฺขิ.
  3. ภาสติ : ก. กล่าว, ส่องแสง
  4. ภาสปกฺขี : ป. นกแซงแซว, นกกระไน
  5. คพฺภาส : (ปุ.) มดลูก ชื่ออวัยวะภายในของ หญิงสำหรับตั้งครรภ์. วิ. คพฺโภ อาสเต ติฏฺฐตฺยเตรฺติ คพฺภาสโย (อวัยวะเป็นที่ เข้าไปดำรงอยู่ของสัตว์ผู้เกิดในครรภ์).
  6. ภาส : (อิต.) วาจาอันตนกล่าว, วาจาเป็นเครื่องกล่าว, คำกล่าว, ถ้อยคำ, คำพูด, ภาสา ภาษา (เสียง หรือ กิริยาอาการซึ่งทำความเข้าใจกันได้).
  7. กโตภาส : ค. ผู้ได้รับอนุญาตแล้ว
  8. คมฺภีราวภาส : ค. ซึ่งมีความลึกซึ้งปรากฏ, ปรากฏว่าลึกซึ้ง
  9. ปฏิภาสติ : ก. กล่าวตอบ, ปราศรัยตอบ, ตอบ
  10. ภาส : (วิ.) ยัง...ให้สว่าง, ยัง...ให้รุ่งเรือง, ยัง...ให้ผุดผ่อง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โส. ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อ. ลง เณ ปัจ. เหตุ. แล้วลบ. สว่าง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง. ๓ คำแปลนี้ ไม่ลงเณ ปัจ.
  11. ภาสติ : ก. ส่งแสง, ฉายแสง, สว่าง; กล่าว, พูด, บอก, เจรจา, ประกาศ
  12. ปริภาส : ป. การบริภาษ, การว่าร้าย, การติเตียน, ดูหมิ่น
  13. ปริภาสติ : ก. บริภาษ, เยาะ, ด่า
  14. สมฺภาส : นป. การพูดกัน, เจรจากัน
  15. อชฺฌภาสติ : ก. กล่าว, ปราศรัย
  16. อธิภาสติ : ก. พูด, บอก, กล่าว
  17. อนุภาส : (ปุ.) การพร่ำสอน, การว่ากล่าว.ส.อนุภาษ.
  18. อนุภาสติ : ก. ว่าตาม, กล่าวตาม, กล่าวซ้ำ
  19. อพฺภาส : (ปุ.) การทวนซ้ำ, การซ้อนกัน, การซ้ำกัน, คำซ้ำ, คำซ้อนอัพภาสคือซ้ำหรือซ้อนอักษรลงหน้าคำ.ส.อพฺยาส.
  20. อภิภาสติ : ก. กล่าว, พูด
  21. อวภาสติ : ก. ส่องแสง, โชติช่วง
  22. สมฺภาส : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.
  23. คหณี : (อิต.) ท้อง. คหฺ อุปาทาเน, อนิ, อิตฺถิยํ อี. ท้องของหญิง วิ. คพฺถํ คณฺหาติ ธาเรตีติ คหณี. คพฺภาสยสญฺญิโต มาตุกุจฺฉิปฺปเท โส. ไฟย่อยอาหาร, ไฟธาตุ. เตโชธาตุมฺหิ ยถาภุตฺตาหารสฺส วิปาจนวเสน คณฺหณ โต คหณี. เป็นชื่อของโรคก็มี.
  24. ฆณฺฏิก : (ปุ.) คนลาดตระเวน, คนผู้เที่ยวไป ด้วยจักร, คนผู้เที่ยวสดุดีเป็นหมู่. ฆณฺฏฺ ภาสเน, อิโก.
  25. นิมนฺต : (ปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  26. นิมนฺตน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
  27. ปภสฺสร : (วิ.) อันเป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี วิ. ปภา สรติ เอตสฺมาติ ปภสฺสโร. ปภาปุพฺโพ, สรฺ อกฺเขเป, อ. มีรัศมีเป็น แดนซ่านออก วิ. ปภสฺสโร อสฺส อตฺถีติ ปภสฺสโร. ณ ปัจ. ตทัตสัตถิตัท. ผ่อง, ผุดผ่อง, ผ่องใส, เลื่อมๆ พรายๆ ( สี... ), พราวๆ (แสง... ), สุกปลั่ง ( ของ... ). ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, สโร, รสฺโส, สฺสํโย- โค. ภสฺ ภาสทิตฺติยํ วา, อโร. อถวา, ปภา- ปุพฺโพ, สุ ปคฺฆรเณ, อโร.
  28. ปริภาส : นป. ดู ปริภาส
  29. ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
  30. ภณฺฑากี : (อิต.) มะเขือ, ภณฺฑ ปริภาสเน, ยุ.
  31. ภณฺฑิล : (ปุ.) ไม้ซึก (ต้นจามจุรี). ภณฺฑฺ ปริภาสเน, อิโล.
  32. ภวาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปในภพ, กิเลสเครื่องหมักดอกในภพ, อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น, อาสวะ คือ ภพ, ภาสวะ (ความหมกมุ่นอยู่ในภพ).
  33. ภสฺตา ภสฺตฺรา : (อิต.) กะทอ, ถุหนัง, สูบ, เครื่องสูบลม, ลูกโป่ง, ย่าม. ภาสฺ ทิตฺติยํ, ต ตฺรณฺ ปัจ. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  34. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  35. มิคตณฺหิกา : (อิต.) พยับแดด. วิ. มิคานํ ตณฺหา ปิปาสา ยสฺสํ ชลาภาสตฺตา สา มิคตณฺหิกา. อิก ปัจ. อา อิต.
  36. อติวากฺย : (ปุ.) คำอันพึงบุคคลพึงกล่าวล่วงเกิน, คำกล่าวล่วง, คำล่วงเกิน.อติปุพฺโพวจฺภาสเน, โณฺย, จสฺสโก.
  37. อปโลกน : (นปุ.) การแจ้งความ, การบอกกล่าว, การบอกให้ทราบ, การประกาศ, การเลือก, การอนุญาต, การอำลา, อปปุพฺโพ, โลกฺภาสยํ, ยุ.
  38. อภิธาน : (นปุ.) วจนะอันอาจารย์กล่าว, คำกล่าวคำพูด, นาม, ชื่อ.วิ.อภิธียเตเอเตนาติอภิธานํ. อภิปุพฺโพ, ธา ภาสเน, ยุ. ส. อภิธาน.
  39. อภิธายี : (อิต.) คำกล่าว.อภิปุพฺโพ, ธา ภาสเน, โย, อิตฺถิยํอี.
  40. อภิเธยฺย : (นปุ.) วจนะอันอาจารย์กล่าว, คำกล่าวคำพูด, นาม, ชื่อ.อภิปุพฺโพ, อา ภาสเน, โณฺย.ส.อภิเธย.
  41. อสมนุภาสนฺต : ค. ยังมิได้สวดสมนุภาส, ยังมิได้สวดประกาศ
  42. โอภาส : (ปุ.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ความสวยงาม, ความสุกใส, ความเปล่ง ปลั่ง, รัศมี, แสง, แสงสว่าง. อวปุพฺโพ, ภาสฺ ทิตฺติยํ โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
  43. ตนฺติภาส : (อิต.) ภาษันแบบแผน, ถาษาที่มี แบบแผน. เช่น ภาษามคธ สันสกฤต และละติน.
  44. มุหุมฺภาส : อิต. การพูดเพ้อเจ้อ
  45. สมฺภาส : (อิต.) การพูดกัน, ฯลฯ. อ ปัจ. อา อิต.
  46. ทุพภาสิตาปตฺติ : (อิต.) อาบัติทุพภาษสิต. ต้องอาบัตินี้ เพราะพูดล้อเล่น เย้าเล่น กับ อุปสัมบัน หรืออนุปสัมบัน กระทบวัตถุมีชาติเป็นต้น พูดเจาะตัวหรือเปรยก็ตาม.
  47. [1-46]

(0.0089 sec)