ทุพฺภิกขุ : (วิ.) มีภิกษาอัน...ได้โดยยาก.
นวกมฺมิกภิกขุ : (ปุ.) ภิกษุผู้ควบคุมการก่อสร้าง, ภิกษุผู้ควบคุมงานก่อสร้าง, ภิกษุผู้ทำการก่อสร้าง.
เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบท ด้วยพระดำรัสว่าจงเป็นภิกษุมาเถิด, เอหิ ภิกขุ อุปสัมปทา คำเรียกอุปสมบท อย่าง ที่ ๑ ใน ๓ อย่าง เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้า ทรงเอง.
จาตุรงฺคสนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุมพร้อมด้วย องค์สี่, การประชุมประกอบด้วยองค์สี่, การประชุมมีองค์สี่. จาตุรงคสันนิบาตเป็น ชื่อของการประชุมในวันมาฆบูชาเมื่อพระ พุทธเจ้าตรัวรู้แล้วได้ ๙ เดือน องค์สี่คือ. – ภิกษุที่มาประชุม ๑๒๕๐ องค์ ล้วน เป็นพระอรหันต์ ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดนั้นเป็นเอหิภิกขุ – อุปสัมปทา ภิกษุสงฆ์เหล่านั้นมากันเองโดยมิได้ นัดหมาย และ วันนั้นเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ
เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
ภกฺข : (ปุ. นปุ.) การกิน, การเลี้ยง, ของกิน, ของบริโภค, อาหาร, ภักษ์, ภักษา. ภทฺขฺ อทเน, อ. ส. ภกฺษ.
ภิกฺข : (ปุ.) ประชุมแห่งภิกษา. ณ ปัจ. สมุหตัท.
ภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุ ชื่อของคนวรรณพราหมณ์ระยะที่ ๔ ของชีวิต ยังชีพโดยภิกขาจาร.
กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
เตจีวริก : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งไตรจีวรเป็นวัตร. โมคฯ ณาทิกัณฆ์ ๗๒ วิ. ติจีวรธารณํ สีลมสฺสาติ เตจีวริโก (ภิกฺขุ). รูปฯ ๓๖๐ วิ. ติจีวรธารณํ ตีจีวรํ. ตํ สีล มสฺสาติ เตจีวริโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
ทนฺต : (ปุ.) ฟัน, งา, งาช้าง. วิ. ทายติ ภกฺข มเนนาติ ทนฺโต. ทา อวทารเณ, อนฺโต, รสฺโส. ส. ทนฺต,
ทสน : (ปุ.) ฟัน วิ. ทํสเต ภกฺข มเนนาติ ทสโน, ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทศน.
ภกฺขก : (วิ.) โลภอาหาร, จะกละ, ตะกละ. ภกฺข อทเน, ณฺวุ.
ภิกฺขน : (นปุ.) อันขอ, การขอ. ภิกฺขฺ ยาจเน, ยุ.
ภิกฺขา : (อิต.) อันขอ, การขอ, การขอทาน. ภิกฺขฺ ยาจเน, อ, อิตฺถิยํ อา.