ภูมิ : (อิต.) แผ่นดิน, ที่ดิน, พื้น, พื้นดิน, พื้นเพ, ปัญญา, ภาคพื้น, ขอบเขต, แดน, ชั้น, ลำดับ. วิ. ภวนฺติ อสฺสํ ภูตานีติ ภูมิ. ที่เกิด วิ. ภวนฺติ เอตฺถาติ ภูมิ. ภู สตฺตายํ, มิ.
ภูมี : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
ภูนาถ ภูป ภูปติ ภูปาล ภูภุช ภูมิธร ภูมินฺท ภูมิป ภูมิ-ปาล : (ปุ.) พระยา, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
ภูมิตล : นป. พื้นดิน
นวภูมิ : (วิ.) มีชั้นเก้า, มีชั้นเก้าชั้น, มีเก้าชั้น. วิ. นว ภูมิโย ยสฺส โส นวภูโม. แปลง ภูมิ เป็น ภูม.
อปายภูมิ : (อิต.) ภูมิที่ปราศจากความเจริญ, อบายภูมิคือนรกเปรตอสุรกาย และสัตว์ดิรัจฉาน.วิ.อปาโยเอว ภูมิ อปายภูมิ
กมฺมภูมิ : อิต. ภูมิของกรรม, ชื่อของกรรม
กิเลสภูมิ : อิต. ภูมิแห่งกิเลสมี ๔ คือ
(๑) สังโยชน์ (๒) อนุสัย
(๓) ปริยุฏฐาน (๔) อุปาทาน
จตุภูมิ : (อิต.) ภูมิสี่(สี่ภูมิสี่ชั้น) วิ. จตสฺโส ภูมิโย จตุภูมิโย.
ชยภูมิ : (อิต.) แผ่นดินอันแสดงถึงชัยชนะ, พื้นที่อันมีชัย, ชัยภูมิ ( ทำเลที่เหมาะ). ส. ชยภูมิ.
ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
ชินภูมิ : อิต. ภูมิหรือพื้นที่ของผู้ชนะ
เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
ทสฺสนภูมิ : อิต. ภูมิแห่งการเห็น (ด้วยปัญญา), ระดับแห่งความรู้ความเห็น
นวกภูมิ : (อิต.) ชั้นต้น, ลำดับ, ฐานะต้น, ฯลฯ, นวกภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคน ชั้นต้น ในพุทธศาสนา หมายถึง นักธรรม ชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นตรี พระชั้นต้น คือ ตั้งแต่อุปสมบทถึงพรรษาครบ ๕ ใน พจนาฯ นับตั้งแต่อุปสมบทถึงครบพรรษา ๔.
นิวาสนภูมิ : อิต. ภูมิเป็นที่อาศัยอยู่, สถานที่อยู่อาศัย
พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
มชฺฌิมภูมิ : (อิต.) ชั้นมีในท่ามกลาง, ฐานะมีในท่ามกลาง, มัชฌิมภูมิ คือชั้นหรือฐานะของคนชั้นกลางในพระพุทธศาสนาหมายถึงความรู้ชั้นกลางคือนักธรรมชั้นโท หรือหมายถึงพระชั้นกลางมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา.
สุทฺธาวาสภูมิ : (อิต.) สุทธาวาสสภูมิ (ภูมิเปนที่อยู่ของพระอนาคามี).
อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
อากาสานญฺจายตนภูมิ : (อิต.) อากาสานัญจาย-ตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมที่๑.
อากิญฺจญฺญายตนภูมิ : (อิต.) อากิญจัญญยตนภูมิชื่อภูมิของอรูปพรหมชั้นที่ ๓
ติโยชนภูมิ : (อิต.) ภาคพื้นมีโยชน์สาม.
ปุญฺญภูมิ : อิต. สถานศักดิ์สิทธิ์สำหรับแสวงบุญของศาสนิก
ภม : (ปุ.) ทางน้ำไหล, ท่อ, ท่อน้ำ, เครื่องกลึง. ภมุ อนวฏฺฐเน, อ.
ยานภูมิ : อิต. ถนน, ทางเป็นที่ไปแห่งยาน
ยุทฺธภูมิ : (อิต.) แผ่นดินแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ภาคพื้นแห่งการต่อสู้, ฯลฯ, สนามรบ.
สุวณฺณภูมิ : (อิต.) แดนทอง, แผ่นดินทอง, สุวรรณภูมิ. คำ สุวรรณภูมิ ไทยหมายถึง แผ่นดิน พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มลายู และสิงคโปร์.
อภูมิ : อิต. ที่อันไม่สมควร, ไม่ใช่ภาคพื้น
อาปานภูมิ : อิต. ภาคพื้นเป็นที่มาดื่ม, โรงสุรา
อารามภูมิ : (อิต.) พื้นที่วัด, พื้นที่สวน.
อุกฺการภูมิ : อิต. พื้นที่เปื้อนคูถ, กองคูถ
อุยฺยานภูมิ : (อิต.) พื้นที่สวนหลวง.
นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
อธิจฺจกา : (อิต.) พื้นเบื้องบนแห่งภูเขา, พื้นดินบนภูเขา.วิ. ปพฺพตสฺส อุทฺธํ ภูมิ อธิจฺจกาอธิ+จฺจกปัจ.
อุปจฺจกา : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.
กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
จตุภูมก, - มิก : ค. มีสี่ภูมิ, มีสี่ชั้น
จตุภูมิกจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นไปในภูมิสี่ จิต อันเป็นประกอบในภูมิสี่.
เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
เตภูมิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นไปในภูมิสาม.
เตภูมิกวฏฺฏสขาต : (วิ.) อันบัณฑิตนับพร้อม แล้วว่า วัฏฏะอันเป็นไปในภูมิสาม.
ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
ธมฺมทสฺสน : (นปุ.) การเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นธรรม, ธรรมทัศน์(ความเห็นธรรมอย่างแจ่มแจ้ง).
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒