ธราธร ธราธาร : (ปุ.) เมฆ, พระวิษณุ, พระ ศิวะ, ภูเขา, เต่า?
นค : (ปุ.) ต้นไม้, ภูเขา, วิ. น คจฺฉคติ นโค. นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. สญฺญาสทฺทตุตา น อตฺตํ (ไม่แปลง น เป็น อ). รูปฯ ๕๗๐. แปลว่า ปราสาท ก็มี นิคคหิตอาคม เป็น นงฺค บ้าง. ส. นค.
ภู : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, นา, ที่นา, เขา, ภูเขา, ความเจริญ. ภู สตฺตายํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
คิริ : (ปุ.) ภูเขาชื่อ คิริ, ภูเขา คิริ, ภูเขา. วิ. คิรติ ปสวติ โอสธาทโยติ คิริ. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อิ. เวสฯ วิ. คิรติ สทฺทํ กโรตีติ คิริ.
เมรุ : (ปุ.) เมรุ ชื่อภูเขากลางจักรวาล, ภูเขา เมรุ. วิ. มิณาติ สพฺเพ ปณฺณเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ. มิ หึสายํ, รุ. มินาติ รํสีหิ อนฺธการนฺติ วา เมรุ. ภูเขาเมรุ ภูเขาสุเมรุ เป็นภูเขาลูกเดียวกัน.
อคม : (ปุ.) ต้นไม้, ภูเขา (เคลื่อนที่เองไม่ได้)วิ. นคจฺฉตีติอคโม.อปัจ.
อิสิคิล : (ปุ.) ภูเขาผู้กลืนกินซึ่งฤาษี, ภูเขา อิสิคิลิ. วิ. อิสโย คิลตีติ อิสิคิลิ. อิสิปุพฺโพ, คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อิ.
กฏกี : ป. ภูเขา
กนฺทรากร : ป. ภูเขา
โกฏ : ค. (ภูเขา) มียอด; ป้อม, ที่มั่น
คิร : (ปุ.) ภูเขา. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อ.
ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
ปพฺพตก : ป. ภูเขา
ภูธร : (ปุ.) เขา, ภู, ภูเขา. วิ. ภํ ภูมึ ธรตีติ ภูธโร. ภูปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ไทยใช้ภูธร เป็นพระนามของพระเจ้าแผ่นดินตามความหมายของสันสกฤต.
สิลุจฺจย : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลาน มุจฺจโย สิลุจฺจโย.
เสล : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลา ปจุรา สนฺตฺยสฺมินฺติ เสโล. ณ ปัจ.
อจล : ๑. ป. ภูเขา ;
๒. ค. ไม่เคลื่อน, ไม่หวั่นไหว
อทฺทิ : ป. ภูเขา
อนิสฺสยมหึภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อา-ศัยมิได้ (เพราะไม่มีวัตถุ มีต้นไม้ ภูเขา และเมืองเป็นต้น).
อิรีณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมิได้ (เพราะไม่มีต้นไม้ ภูเขา เป็นต้น), ที่มี ดินเค็ม.
อุพฺพีธร : (ปุ.) ภูเขา (ดำรงอยู่บนแผ่นดิน).
อทฺทิ อทฺที : (ปุ.) ภูเขา.อทฺท คติยาจนหึสาสุ, อิ. อี.
อวตส : (ปุ.) ใบหู, ภูเขา.อวปุพฺโพ, ตสฺอลงฺกาเร, อ.
กฏ : (ปุ. นปุ.) ไหล่ภูเขา, ลาดภูเขา, ทอง ปลายแขน, กำไลมือ. กฏฺ คติยํ, อ.
กฏก : (ปุ.) ไหล่ภูเขา, ลาดภูเขา. ส. กฏก.
กนฺทร : (ปุ.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
กนฺทรา : (อิต.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
กรวีก : (ปุ.) กรวีกะ ชื่อภูเขาลูกที่ ๓ ใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของภูเขาสุเมรุ.
กุญฺช กุญฺชนิ : (ปุ. นปุ.) ท้องแห่งภูเขาอัน สะสมด้วยเถาวัลย์และหญ้าเป็นต้น (ปพฺพ ภาทีนํ คพฺภรเทเส ลตาปลฺลวติณา ทีหิ ปิหิโตทเร)., หุบเขา. กุญฺชฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, นิ.
กุลจล : (ปุ.) กุลาจละ ชื่อภูเขามีรากไม่หวั่นไหว มี ๘ ลูก มีเขาสุเมรุ เป็นต้น.
กุลาจล : ป. มหาบรรพต, ชื่อรวมของภูเขาใหญ่ทั้งเจ็ด คือเขาสัตตบริภัณฑ์ ซึ่งล้อมรอบเขาพระสุเมรุอยู่
เกลาส : (ปุ.) เกลาสะ ไกลาส ชื่อภูเขา วิ. เก ชเล ลาโส ลสนํ ทิตฺติ อสฺสาติ เกลาโส. ลสฺ กนฺติยํ, โณ. ไทยเขียน ไกรลาส เพราะแทรก ร เข้ามา. ส. ไกลาส.
เกลาสกูฏปฏิภาค : (วิ.) มีส่วนเปรียบด้วยยอด แห่งภูเขาชื่อว่าไกลาส มี วิ. ดังนี้. สัมภาวนปุพฺ กัมฺ เกลาโส อิติ ปพฺพโต เกลาสปพฺพโต. ฉ. ตัป. เกลาสปพฺพตสฺส กุโฏ เกลาสกูโฏ. ฉ. ภินน. พหุพ. เกลาสกูเฏน ปฏิภาโค เยน โส เกลาสกูฏปฏิภาโค (วรวารโณ).
คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
คิชฺฌกูฏ : (ปุ.) ภูเขามียอดเช่นกับแร้ง, คิชฌกูฏ ชื่อภูเขา, ภูเขาคิชฌกูฏ. คิชฺฌสทิสกูฏ- ยุตฺตาย คิชฺฌกูโฏ.
คิรคฺค : ป. ยอดภูเขา
คิริคุหา คิริคูหา : (อิต.) ช่องแห่งภูเขา, ถ้ำ.
คิริสิขร : นป. สิงขร, ยอดภูเขา
ฆนเสลปพฺพต : (ปุ.) ภูเขาเป็นวิหารแห่งหิน เป็นแท่ง, ภูเขาเป็นแท่งทึบ.
จกฺกวาลปพฺพต : ป., นป. จักรวาลบรรพต, ภูเขาล้อมรอบจักรวาล
จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
จิตฺตกูฎ : (ปุ.) จิตตกูฎ ชื่อยอดภูผา ยอด ๑ ใน ๖ ยอด ของภูเขาหิมาลัย. วิจิตฺตกูฎยุตฺตตาย จิตฺตกูโฏ.
เจติยปพฺพต : ป. เจติยบรรพต, ชื่อภูเขาเทือกหนึ่งในลังกาทวีปปัจจุบันเรียกว่ามิหินตะเล
ติกูฏ : (ปุ.) ติกูฏะ ชื่อภูเขา วิ. ตีณิ กูฏานิ อสฺสาติ ติกูโฏ. เป็น ติกุฏ ก็มี.
ติโรปพฺพต : (นปุ.) ภายนอกแห่งภูเขา, นอก ภูเขา, นอกเขา. วิ. ปพฺพตสฺส ปรภาโค ติโรปพฺพตํ รูปฯ ๓๒๓ .
ถ : (ปุ.) ภูเขา, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความต้านทานภัย, มงคล. อุ. ถตฺถํ วิหิต- ปณาโม ประณามอันข้าฯตั้งไว้แล้วเพื่อ ความเป็นมงคล. ถุ คติเถริเยสุ. อ. ส. ถ.
ททฺทร : (ปุ.) ทัททระ ชื่อภูเขา.
ทรี : (อิต.) ซอกภูเขา, ถ้ำ. ทรฺ ภเย, อี. ทรฺ วิทารเณ วา. เป็น ทริ ก็มี ส. ทร.