Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มนะ , then มน, มนะ, มนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มนะ, 87 found, display 1-50
  1. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  2. มมงฺการ : (ปุ.) อภิมนะเป็นที่กระทำว่าของเรา, อภิมานะเป็นที่กระทำว่าของของเรา, ความถือตัวว่าเป็นของเรา, ความถือว่าของเรา, มมังการ เป็นกิเลสชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นแล้วทำให้ถือก๊กถือพวก เป็นเหตุให้แตกสามัคคี เกิดความแตกร้าวในหมู่คณะ เป็นกิเลสคู่กับอหังการ คือถือตัวหยิ่ง ยโส.
  3. ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
  4. มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  5. มน : (อัพ. นิบาต) น้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย, หน่อยหนึ่ง.
  6. มนตา : อิต.ใจ
  7. มนสิกโรติ : ก. ทำไว้ในใจ, นึก, ตรึกตรอง
  8. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  9. เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
  10. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  11. มุนิ : (ปุ.) พระมุนี พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. พระพุทธเจ้า. วิ. สพฺพธมฺเม มุนตีติ มุนิ. มุนฺ ญาเณ, อิ.
  12. กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
  13. โกนาคมน : (ปุ.) พระโกนาคมน์ พระนามของ พระพุทธเจ้า องค์ที่ ๒ในพระเจ้า ๕ พระองค์.
  14. คมนาคมน : นป. การคมนาคม, การไปและการมา
  15. ชมฺมน : นป. ความเกิด, การสืบสายโลหิต
  16. ทุมน ทุมฺมน : (วิ.) มีใจอันโทษประทุษร้าย แล้ว วิ. ทุฏฺโฐ มโน ยสฺส โส ทุมโน ทุมฺมโน วา. มีใจชั่ว, มีใจชั่วร้าย วิ. ทุ ทฏฺโฐ มโน อสฺสาติ ทุมโน. เสียใจ ยินร้าย วิ. ทุฏฺฐุ ทุกฺขิตํ วา มโน ยสฺส โส ทุมโน. ศัพท์ หลังซ้อน มฺ.
  17. ทุมฺมน : ค. ผู้มีใจชั่ว, ผู้เสียใจ, ผู้เศร้าโศก
  18. นวิมน : (อิต.)เก้าสิบ.แปลงทสที่แปลว่าเก้าสิบ(ทสเก้าครั้ง)เป็นนวลงโยวิภัติแปลงโยเป็นอุติรูปฯ๓๙๗.
  19. นฬมีณ, - มีน : ป. กุ้ง, ปลากด
  20. นิทฺธนมน : (ปุ.) ท่อ, ท่อระบาย.
  21. ปริพฺภมน : นป. การหมุน, การม้วน, การท่องเที่ยว
  22. ปีติมน : ค. มีใจเอิบอิ่ม
  23. ปุนาคมน : นป. การกลับมาอีก
  24. มมฺมน : ค. คนติดอ่าง
  25. มีน : (ปุ.) ปลา (ปลาทั่วไป). มรฺ ปาณจาเค, อีโน, รฺโลโป. มิ หึสายํ วา.
  26. โมน : (นปุ.) ความนิ่ง, ความสงบ. วิ. มุนิโน กมฺมํ โมนํ. ณ ปัจ.
  27. วิธมน : นป. ความทำลาย
  28. สมฺมน : (วิ.) มีใจร่วม, มีใจร่วมกัน, มีใจรวมกัน. ไทย สัมมนา ว่า การประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  29. สุมนปุปฺผ : (นปุ.) ดอกคำ.
  30. อธิมน : นป. ความตั้งใจ, ความจดจ่อ
  31. อนาคมน : นป. การยังไม่มาถึง, การยังไม่กลับมา
  32. อปนามน : นป. การเนรเทศ, การไล่ออก
  33. อพฺภาคมน : นป. การมาถึง, การมาสู่
  34. อภิมน : ค. มีใจยิ่ง, คิดถึง, รำพึง
  35. อโยมน : นป. ทั่งเหล็ก, พะเนินเหล็ก
  36. อาจมนกุมฺภี : อิต. หม้อชำระ, หม้อสำหรับล้าง
  37. อุปนมน : นป. การน้อมเข้ามาใกล้
  38. อุปรมน : นป. ดู อุปรติ
  39. เอกมน : ค. ผู้มีใจเป็นอันเดียวกัน
  40. โอณมน : นป. การก้มลง, การโน้มลง
  41. โอนมน : (นปุ.) อันยุบลง, การยุบลง. โอปุพฺ โพ, นมุ นมเน, ยุ.
  42. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  43. มโนโตส : (ปุ.) ความยินดีแห่งใจ, ความแช่มชื่นแห่งใจ, ฯลฯ. มน+โตส.
  44. มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
  45. วินาม : ป., - มน นป. การน้อมกาย
  46. กณฺฏกาคาร : ป. เม่น
  47. กมฏฐ : ป. เต่า; เม่น; ไม้ไผ่
  48. โกวิลาร โกวิฬาร : (ปุ.) ซึก (จามจุรี ก้ามปู) แคฝอย, ทองกวาว, ทองหลาง, ทองหลาง ใบมน.
  49. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  50. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  51. [1-50] | 51-87

(0.0298 sec)