มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
มนฺตน : (นปุ.) การปรึกษา, ฯลฯ. การกระซิบ, ความลับ, มนฺตฺ คุตฺตภสเน, ยุ. แปลง น เป็น ณ เป็น มนฺตณ. บ้าง.
มนฺตี : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีความคิด, มนตรี (ผู้ปรึกษาราชการ ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่).
มนฺเตติ : ก. ปรึกษา, หารือ
มนฺถาน : (ปุ.) มันถานะ ชื่อภาชนะวิกัติสำหรับคนนมโคให้เป็นเนย.
มนฺทากินี : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ.
มนฺทารว : (ปุ.) ดอกมณฑารพ?
มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
ขนฺติมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีความอดทน, ฯลฯ. มนฺตุ ปัจ.
ธิติมนฺตุ : (วิ.) มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, มี ความเพียรเป็นที่ตั้ง, มีความเพียร, ฯลฯ. วิ. ธิติ อสฺส อตฺถีติ ธิติมา. มนฺตุ ปัจ.
ภาณุมนฺตุ ภานุมนฺตุ : (ปุ.) ไฟ, พระอาทิตย์. วิ. ภาณุ ภานุ วา อสฺส อตฺถีติ ภาณุมา ภานุมา วา. มนฺตุปัจ.
อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.
มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
กมฺมนฺติก : ค. ผู้ประกอบด้วยการงาน, ผู้เป็นกรรมกร
กุจฺฉิมนฺตุ : ค. มีครรภ์
เกตุมนฺตุ : ค. ซึ่งประดับด้วยธง
ขนฺติมนฺตุ, ขนฺตุ : ค. มีความอดทน
คุณมนฺตุ คุณวนฺตุ : (วิ.) มีคุณ.
โคมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีโค วิ. คาโว อสฺสาติ โคมา.
ชาติมนฺตุ : ค. ผู้มีชาติดี, ผู้มีกำเนิดดี, ผู้มีตระกูลสูง
ชุติมนฺตุ : (ปุ.) คนมีความรุ่งเรือง, ฯลฯ.
ติตฺติมนฺตุ : ค. มีความอิ่ม, มีความพอใจ
นายกรฏฺฐมนฺตี : (วิ.) (บุคคล) ทั้งเป็นผู้นำ ทั้งเป็นที่ปรึกษาของรัฐ.
นิมนฺตก : ค. ผู้นิมนต์, ผู้เชื้อเชิญ
นิมนฺตน : (นปุ.) การเชื้อเชิญ, การเชิญ, นิมนต์ (เชิญพระเชิญนักบวช). นิปุพฺโพ, นมฺตฺ คุตฺตภาสเน, อ, ยุ, ส. นิมนฺตรณฺ.
นิมนฺตนิก : ค. ผู้นิมนต์, ผู้เชื้อเชิญ
นิมนฺติต : ค. ซึ่งถูกนิมนต์, ซึ่งถูกเชื้อเชิญ
นิมนฺเตติ : ก. นิมนต์, เชื้อเชิญ
ปฏิมนฺตก : ป. ผู้พูดโต้ตอบ, คู่สนทนา; ผู้มีปัญญาเครื่องคิดอ่าน, ผู้รู้จักคิด
ปฏิมนฺเตติ : ก. โต้, ตอบโต้, ตอบ, คัดค้าน
ปิฏฺฐิมนฺตุ : ค. ผู้มีหลัง
ปุตฺตวนฺตุ, ปุตฺติมนฺตุ, ปุตฺติย : ค. ผู้มีบุตร, ผู้มีลูก
พฺรหฺมนิมนฺตนิก : ค. ผู้เชื้อเชิญพรหม
พลิมนฺตุ : ค. ผู้ได้รับพลีบูชา
พุทฺธิมนฺตุ : ค. ผู้ฉลาด, ผู้มีความรู้, ผู้มีปัญญา
มติมนฺตุ : (วิ.) ผู้มีปรีชา, ฯลฯ.
มนฺตณ, มนฺตน : นป. การปรึกษา
มุติมนฺตุ : ค. คนมีความรู้
ยสฺสสิมนฺตุ, ยสสฺสี, ยสวนฺตุ : ค. มียศ, มีชื่อเสียง, ผู้รุ่งเรือง
รฏฺฐมนฺตี : (ปุ.) คนมีความคิดของบ้านเมือง, คนมีความรู้ของบ้านเมือง, รัฐมนตรี ชื่อบุคคลผู้รับ ผิดชอบในนโยบายบริหารราชการแผ่นดิน และเป็นที่ปรึกษาการบ้านเมือง ผู้เป็นหัวหน้าเป็นใหญ่ในกระทรวง.
รสิมนฺตุ : ค. มีแสงสว่าง ( หมายเอาพระอาทิตย์ )
สติมนฺตุ : ค. คนมีสติ
สมฺมนฺเตติ : ก. ปรึกษา
สามนฺตา : (อัพ. นิบาต) รอบ, รอบคอบ, โดยรอบ. รูปฯ เป็น สตฺตมิยตฺถนิปาต.
สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
สีมนฺตินี : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง. สีมนฺต+อินีปัจ.