Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มรณา , then มรณ, มรณะ, มรณา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มรณา, 28 found, display 1-28
  1. มรณ : (นปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  2. มรณภย : (นปุ.) ความกลัวต่อความตาย, ความกลัวแต่ความตาย, ความกลัวอันเกิดแล้วแต่ความตาย, ความกลัวต่อมรณะ, ความกลัวแต่มรณะ, ภัยต่อมรณะ, ภัยแต่มรณะ, ภัยคือมรณะ.
  3. มรณภยตชฺชิต : (วิ.) ผู้อันภัยคือมรณะคุกคามแล้ว.
  4. มรณานุสฺสติ : (อิต.) ระลึกถึงซึ่งความตาย, ความนึกถึงความตาย, การนึกถึงความตาย. วิ. มรณานํ อนุสฺสติ มรณานุสฺสติ. เป็น ฉ. ตัป. รูปฯ ๓๓๖.
  5. มรณกาล : ป. เวลาตาย
  6. มรณเจตนา : (อิต.) เจตนาเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ตาย.
  7. มรณธมฺม : (วิ.) มีอันตรายเป็นสภาพ, มีความตายเป็นธรรมดา.
  8. มรณปณฺณ : (นปุ.) หนังสือบอกการตาย.
  9. มรณปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งความตาย, มีความตายอันถึงแล้ว.
  10. มรณปริโยสาน : ค. มีความตายเป็นที่สุด
  11. มรณพฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ คือความตาย, ทุกข์เครื่องยังสุขให้ฉิบหายคือความตาย, ความตายและความฉิบหาย.
  12. มรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันตาย, ความเป็นคืออันจะตาย, ฯลฯ, ความตาย. ไทยมรณภาพ ใช้เป็นกิริยาว่า ตาย เฉพาะการตายของพระสงฆ์.
  13. มรณมญฺจก : ป. เตียงที่นอนตาย
  14. มรณมุข : นป. ปากแห่งความตาย
  15. มรณลกฺขณ มรณลิงฺค : (วิ.) มีความตายเป็นลักษณะ.
  16. มรณลิงฺค : (นปุ.) ลักษณะแห่งความตาย.
  17. มรณสฺสติ : อิต. การระลึกถึงความตาย
  18. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  19. กาลกต : (วิ.) ผู้อันความตายทำแล้ว, ผู้อัน ความตายคือ มัจจุทำแล้วคือให้พินาศแล้ว วิ. กาเลน มจฺจุนา กโต นาสิโต กาลกโต. ผู้มีกาละอันทำแล้ว, (ตายแล้วสิ้นชีพแล้ว), มรณะ, มรณภาพ, สิ้นพระชนม์, ฯลฯ.
  20. ชราพฺยาธิมรณมิสฺสตา : (อิต.) ความที่แห่ง ชาตินั้นเป็นชาติเจือด้วยชราและพยาธิและ มรณะ, ความที่แห่งชาตินั้นเป็นของมีชรา และพยาธิและมรณะเจือปน.
  21. ปรมฺมรณ : (นปุ.) เบื้องหน้าแต่ความตาย, เบื้องหน้าแต่ตาย.
  22. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  23. อนฺตรามรณ : นป. ความตายในระหว่าง คือ ตายก่อนเวลาที่สมควร
  24. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  25. กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
  26. ทกฺขิณานุสฺสรณ : (นปุ.) ทักขิณานุสรณ์ ทักษิณานุสรณ์ ชื่อของการทำบุญครบ ๗ วัน นับแต่วันมรณะ มักทำเป็นการบอก แขกใหญ่ ที่เรียกว่า สัตตมวาร สัตมวาร ( ครบเจ็ดวัน ).
  27. มร : (ปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
  28. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  29. [1-28]

(0.0134 sec)