มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
ธมฺมยาน : นป. ยานคือธรรม (มรรค ๘)
มคฺคจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบแล้วด้วยมรรค, จิตประกอบด้วยมรรค.
มคฺคผลนิพฺพานสุข : (นปุ.) สุขอันเกิดแล้วแต่มรรคและสุขอันเกิดแล้วแต่ผลและสุข คือพระนิพพานง เป็น อ. ทวัน. มี ปญฺจ. ตัป.,ปญฺจ.ตัป. และ อว.กัม. เป็นภายใน.
มคฺคสมงฺคี : (วิ.) ประกอบด้วยมรรค, มีมรรคสมบูรณ์.
มคฺคเหตุธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเหตุคือมรรคได้แก่ อโลภะ อโทสะ และ อโมหะ ของผู้พรั่งพร้อมด้วยอริยมรรค.
กถามคฺค : ป. กถามรรค, การบอกเล่า, ประวัติ
กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
คุท : (นปุ.) ทวารหนัก, วัจมรรค. วิ. คุณาติ ควติ วา กรีส เมเตนาติ คุทํ. คุ กรีสุสฺสคฺเค, โท.
จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
จตุตฺถมคฺค : ป. มรรคที่สี่, อรหัตมรรค
จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
ทสฺสน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การแลดู, การเฝ้า (ราชาศัพท์), ความเห็น, ฯลฯ. วิ. ทสฺสียเตติ ทสฺสนํ. ทิส. เปกฺขเณ. ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส. และยังแปลว่า โสตาปัตติ-มรรคด้วย อุ. ทสฺสเนน ปาหตพฺพา ธมฺมา. ธรรมท. อันพระโสดาปัตติมรรคพึงประหาณ. ส. ทรฺศน.
ธมฺมมคฺค : ป. ธรรมมรรค, ทางแห่งธรรม
ผลจิตฺต : นป. จิตที่บรรลุอริยผลได้แก่ จิตของพระอริยบุคคลที่ก้าวล่วงมรรคจิตแล้วบรรลุถึงผลจิต
มคฺคาธิปติธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีมรรคเป็นอธิบดี ได้แก่ ธรรมคือจิตและเจตสิกที่ทำอริยมรรคให้เป็นอธิบดี.
มคฺคารมฺมณธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีมรรคเป็นอารมณ์ ได้แก่ธรรมคือจิตและเจตสิกที่ทำอริยมรรคให้เป็นอารมณ์.
มชฺฌิมาปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติอันมีในท่ามกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางคือมรรค (อริยมรรค) มีองค์ ๘.
โยนิ : (ปุ.) ปัสสาวมรรคของหญิง, นิมิตของหญิง, ของลับของหญิง, โยนี. วิ. ยวนฺติ สตฺตา อเนน เอกีภาวํ คจฺฉนฺตีติ โยนิ. ยุ คติยํ, นิ. ยวนฺติ สุกฺกโสณิตา เอเตนาติ วา โยนิ. ยุ มิสฺสเน, นิ. แปลว่า เหตุ ก็มี.
สมฺปาปกเหตุ : (ปุ.) เหตุอันยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงด้วยดี (ได้แก่มรรค ๘).
สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
อฏฺฐงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยองค์แปด.อัฏฐังคิกมรรค, อัษฏางคิกมรรค.
อฏฺฐงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยองค์แปด. อัฏฐังคิกมรรค, อัษฏางคิกมรรค.
อฏฺฐงฺคิถมคฺค : (ปุ.) อัฏฐังคิกมรรค, อัษฏาง คิกมรรค.
อฏฺฐงฺคิถมคฺค : (ปุ.) อัฏฐังคิกมรรค, อัษฏางคิกมรรค.
อปฺปมาณธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอัปปมาณคือมรรคและผลของมรรคที่เป็นโลกุตระและอสังขตธาตุไตร. ๒๓/๖๒๗.
อรหตฺตมคฺค : ป. อรหัตมรรค, ทางดำเนินไปสู่ความเป็นพระอรหันต์
อรหตฺตมคฺคญาณาสิ : (ปุ.) ดาบคือญาณอันสัม-ปยุตแล้วด้วยมรรคอันเป็นไปในพระอรหัต.
อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
เอกายน เอกายนมคฺค : (ปุ.) ทางเป็นที่ไปสู่ คุณอันเอก, ทางเป็นที่ไปอันเอก, ทางสาย เอก, หนทางเอก, มรรคคือหนทางอันเอก, เอกายนมรรค คือ ทางสายเอก ได้แก่ อริยมรรค มีองค์ ๘.
มคฺคสนฺธิ : (ปุ. อิต.) ทางสองแพร่ง, ทางสี่แพร่ง. วิ. ทฺวินฺนํ จตุนฺนํ วา มคฺคานํ สนฺธิ มคฺคสนฺธิ.
มคฺคทูสี : ป. โจรปล้นกลางทาง
มคฺคเทสก : ค. ผู้ชี้ทาง
มคฺคเทสิก : (ปุ.) บุคคลผู้เดินทาง, คนเดินทาง.
มคฺคสมาคม : (ปุ.) ทางมาร่วมกัน.
กุมฺมคฺค : (ปุ.) ทางผิด. กุจฉิต+มคฺค.
มธุก : (ปุ.) คนผู้ชมมรรคาแห่งสวรรค์, บุคคลผู้แต่งพงศาวดาร. มคฺคํ ถวตีติ มธุโก. มคฺคปุพฺโพ, ถุ ถติยํ, ณฺวุ. คฺคโลโป, ถสฺส โธ.
ปฏิมคฺค : ป. ทางสวนกัน, ทางขวางหน้า
สกฏมคฺค : ป. ทางเกวียน
อนฺตรามคฺค : (นปุ.) ระหว่างแห่งหนทาง.วิ.มคฺคสฺสอนฺตราอนฺตรามคฺคํ.
อนุมคฺค : ค. ลำดับหนทาง, ตามทาง, ระหว่างทาง
อุมคฺค อุมฺมคฺค : (ปุ.) ทางผิด. อุ+มคฺค.