ม : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
มา : (อิต.) บริษัท, สิริ, มารดา.
นารายณ : (ปุ.) นารายณะ นามพระวิษณุ, พระนารายณ์ พระเจ้าองค์หนึ่งใน ๓ องค์ ของศาสนาฮินดู ได้ในอักษร อะ อีกสอง องค์คือ พระศิวะ อักษร อุ และ พระพรหม อักษร มะ รวมเป็น โอม. ส. นารายณ.
กาสฺมรี กาสฺมารี กาสฺมิรี : (อิต.) ไม้มะรื่น, ไม้มะดูก, ไม้ไข่เน่า, ไม้มะตูม, กะบก. กสฺมีรเทเส ชาตตฺตา กาสฺมารี. กาสฺ ทิตฺติยํ วา, มโร, อิตฺถิยํ อี.
ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
สพฺพภุมฺม : (ปุ.) สัพพภุมมะ ชื่อช้างประจำทิศอุดร.
โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
กุนฺท : (ปุ.) มะลิเครือ, มะลิวัลิ, มะลิวัลย์.
ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
ติม : (ปุ.) ติมะ ชื่อปลาชนิดหนึ่ง, ปลา. ส.ติม ปลา.
ติวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่งวัตถุสามที่ควรแสวง หา ได้แก่ ธัมมะ คือ ห น้าที่ ๑ กามะ ความสุข ๑ อัตถะ ทรัพย์สมบัติ ๑ .
ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
ปญฺจวคฺคิย : ค. มีพวกห้า หมายถึงภิกษุห้ารูปเหล่านี้คือ อัญญาโกณฑัญญะ, วัปปะ, ภัททิยะ, มหานามะ, อัสสชิ
ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
เผณิก, - ล : ค. ไม้มะคำดีควาย, สะเดา
พนฺธม : (ปุ.) พันธุมะ ชื่อพระเจ้าแผ่นดิน.
พหุวารก : (ปุ.) มะกอก, มะทราง, มะคำไก่, มะปราง. วิ. ปิจฺฉิลตฺตา พหูนิ วารีนิ ยสฺมึ โส พหุวารโก. แปลง อิ ที่ วาริ เป็น อก สกัด.
สุยาม : (ปุ.) สุยามะ ชื่อเทพบุตร
เสนปณฺณิ เสปณฺณี : (อิต.) มะรื่น, มะดูก. วิ. สิริมนฺตานิ ปณฺณานิ ยสฺสา สา เสปณฺณี เสปณฺณี วา. สิริสทฺทสฺส เสอาเทโส. ไม้มะเดื่อ ไม้ไข่เน่า ไม้มะตูม ก็แปล.
เสลุ : (ปุ.) มะกอก, มะซาง, มะคำไก่. สิ พนฺธเน, ลุ. สลฺ คติยํ, อุ, อสฺเส.
เหม : (ปุ.) เหมะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล วิ. เหมวณฺณตาย เหโม.
อปฺปมาริส : (ปุ.) กะเพรา, มะพับ, ผักโหมหิน.
อริฏฺฐ : (ปุ.) ประคำดีควายชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ทำยาไทยมะคำดีควายก็เรียก.หตชนฺตุปโมหสํขาตาริผลตายอริฏฺโฐ.ตํโรคาริวนฺตชเนหิอิจฉิตพฺพผลตฺตาวาอริฏฺโฐ.สะเดาก็แปล.
อุพฺภิท : (ปุ.) อุพภิทะ ชื่อเกลืออย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง เป็นเกลือที่เกิดในนาเกลือชื่อ รุมะ ในสัมพรี- ประเทศ, เกลือ.
อุมฺมา : (อิต.) ฝ้าย, ผักตบ, ดอกไม้สีเขียว, ดอกไม้สีเขียวฟ้า. ไตร ๑๐ / ๑๒๙. อวฺ รกฺขเณ, โม, อวสฺสุ (แปลง อว เป็น อุ), ทวิตฺตํ (แปลง ม เป็น มฺม). เป็น อุมา โดยไม่แปลงบ้าง.
จงฺกมน : (นปุ.) การเดินไปและ การเดินมา, การเดินไปมา, การก้าวไป และการก้าวมา, การก้าวไปก้าวมา. วิ. กโม จ อากโม จ จงฺกโม. กโม จ อากมนญฺจ จงฺกมนํ. กม+อากม,กม+อากมน. แปลง ก เป็น จ แปลง ม เป็น นิคคหิต ลบ อา แปลง นิคคหิต เป็น งฺ.
ฉกลก ฉคลก : (ปุ.) แพะ วิ. ฉินฺทนฺโต คจฺฉตีติ ฉกลโก ฉคลโก วา. ฉ มาจาก โฉ ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. กล, คล มาจาก คมฺ ธาตุ อ ปัจ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. แปลง ม เป็น ล ศัพท์ต้น แปลง ค เป็น ก ลง ก สกัด. ส. ฉค.
ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
มาตุ : (อิต.) แม่ วิ. ปุตฺตํ มาเนตีติ มาตา (รักลูก). มานฺ ปูชายํ, ราตุ. ปาตีติ วา มาตา (ดูดดื่ม ซาบซึ้งในลูก). ปา ปาเน, ตุ. แปลง ปา เป็น มา. ศัพท์ มาตุ นี้แปลว่า ยาย ก็ได้. มาตุมาตุ. อภิฯ.
อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
อปมาร อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู. วิ. อปคโต สาโร เยน โส อปมาโร อปสฺมา- โร วา. ศัพท์แรก แปลง ส เป็น ม ศัพท์ หลังลง มฺ อาคม ท่ามกลาง.
เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
มาตลี : (ปุ.) มาตลี ชื่อเทพบุตรผู้เป็นสารถีของรถพระอินทร์ วิ. มาตลาย อปจฺจํ มาตลี. ณี ปัจ. มา มาตา วิย สตฺตานํ หิตสุขํตลตีติ วา มาตลี. มาปุพฺโพ, ตลฺ ปติฏฺฐายํ, ณี.
มาตามหา มาคามหี : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่) วิ. มาตุ มาตา มาตามหา มาตามหี วา. อามห ปัจ. อา อี อิต. ย่า (แม่ของพ่อ) วิ. ปิตุโน มาตา ปิตามหา ปิตามหี วา.
สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
มหลฺล มหลฺลก : (วิ.) ใหญ่, โต, มาก, แก่, ผู้ถือเอาซึ่งความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. วิ. อายุมหตฺตํ ลาตีติ มหลฺโล มหลฺลโก วา.
มหีลตา : (อิต.) ไส้เดือน วิ. มหิยาลตา มหีลตา.
มาควิก : (นปุ.) พรานเนื้อ วิ. มเค หนฺตฺวา ชีวตีติ มาควิโก. ณิก ปัจ. วฺ อาคม รูปฯ ๓๖๐.
มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
มาติย : (ปุ.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, วิ. มาติโต สมฺภูโต มาติโย. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑.
มาตุจฺฉา : (อิต.) ป้า, น้า (พี่น้องหญิงของแม่). วิ. มาตุยา ภคินี มาตุจฺฉา. จฺฉ ปัจ. อา อิต.
มาตุล : (ปุ.) ลุง, น้า (พี่ชาย น้องชายของแม่). วิ. มาตุยา ภาตา มาตุโล. อุล ปัจ.
มาตุลุงฺค : (ปุ.) มะงั่ว วิ. มตฺโต ลุชฺชติ อเนนาติ มาตุลุงฺโค. มตฺตปุพฺโพ, ลุชฺ วินาเส, อ. มะกรูด มะนาว ก็แปล.