คนฺถติ, คนฺเถติ : ก. ผูก, มัด, รัด, ถัก, ประกอบ, แต่ง
คุจฉ : (นปุ.?) พวงมาลัย, ช่อดอกไม้, ฟ่อน- หญ้า, ผ้าผูกคอ, มัด, ห่อ (สองคำนี้เป็น นามนาม). สิ. คุจฺฉ คุชฺช.
นทฺธ : ค. ผูก, มัด, บิด, หุ้ม, ห่อ, สวม
นนฺธติ : ก. ผูก, มัด, รึงรัด, บิด, หุ้ม, ห่อ
นยฺหติ : ก. ผูก, มัด, ห่อ, ปิด
นิพทฺธ : ค. เนืองๆ , สืบต่อกันไป, ยั่งยืน; เป็นที่รบกวนใจ, ผูก, มัด
นิพนฺธติ : ก. ผูก, มัด, รัดรึง, รบเร้า; ตระเตรียม
ปฏิมุญฺจติ : ก. สวม, สวมใส่, ผูก, มัด; ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
ปฬิคุณฺฐติ : ก. ผูกพัน, มัด, รัดรึง, หุ้มห่อ
ปฬิเวเฐติ : ก. ห่อ, มัด, พัน
พชฺฌติ : ก. ผูก, มัด, รัด, จับ
พนฺธติ : ก. ผูก, พัน, มัด, รัด, ประกอบ, จับไว้จองจำ
โยเชติ : ประกอบ, ผูก, มัด, ตระเตรียม
อปิฬหติ, อปิฬนฺธติ : ก. ผูก, มัด, ประดับ
อาพนฺธติ : ก. ผูก, มัด, เกาะ, ซึมซาบ
อาเวเฐติ : ก. บิด, ผูก, มัด, ห่อ, เวียนรอบ
อุฑฺเฑติ : กิต. ผูก, มัด, รัด; บิน, เหาะ, ลอยขึ้นไป, ปาไป, ทิ้งไป
อุทฺทาน : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจองจำ, พวง, มัด, คำเป็นที่รวบรวมไว้ คือรักษาไว้มิให้กระจัดกระจาย. อุปุพฺโพ, ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. เท รกฺขเณ วา, ยุ.
อุพฺภณฺเฑติ : ก. ห่อ, มัด, ปกปิด
โอพนฺธติ : ก. ผูก, มัด, รัด, พัน
โอลคฺเคติ : ก. ห้อย, แขวน; มัด; ยับยั้ง
คุล คุฬ : (ปุ.) น้ำอ้อย, น้ำอ้อยงบ, น้ำตาล, น้ำตาลงบ, ลูกกลมๆ, ก้อน, ก้อนข้าว, ช่อ, พวง, มัด กลุ่ม, ขลุบ, (ลูกคลีสำหรับแข่ง ขันกัน) เป็น คุลบก็มี. คุฬฺ รกฺขเณ, อ. คุ สทฺเท วา, โฬ. ศัพท์ต้น แปลง ฬ เป็น ล โมคฯ ลง ฬฺก ปัจ.
*อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
เกสกลาป : ป. มัดแห่งผม, ปอยผม, จุกผม
ขฏก : (ปุ.) กำ (ของที่มัดรวมกัน), กำ (มือ ที่กำ), กำมือ. ขฏฺ อิจฺฉายํ, ขทฺ หึสายํ, ณฺวุ, ทสฺส โฏ.
คถิต : กิต. ผูกแล้ว, มัดแล้ว, ปรารถนาแล้ว
ติณกรล : นป. เชือกทำด้วยหญ้า, มัดหญ้า
นยฺหน : นป. การผูก, การมัด, การห่อ, การปิด
นาห : (ปุ.) เครื่องผูก, เครื่องดักสัตว์, แร้ว, การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, นหฺ พรฺธเน, โณ. ส. นาห.
ปจฺฉาพาห : ก. วิ. ให้มีมือข้างหลัง, มัดมือไพล่หลัง
ปฬิเวฐน : นป. การห่อ, การมัด, การพัน
ปฬิเวฐิต : ค. อันเขาห่อแล้ว, อันเขามัดแล้ว, อันเขาผูกหรือพันแล้ว
ปุปฺผมุฏฺฐิ : อิต. กำดอกไม้, มัดดอกไม้
พนฺธนีย : ค. ควรผูก, ควรมัด, ควรรัด, ควรพัน
พนฺธาเปติ : ก. ให้ผูก, ให้มัด, ให้รัด, ให้พ้น
พนฺธิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การผูกพัน, การมัด, การรัด, เพื่อผูกพัน, เพื่อมัด, เพื่อรัด
ภวโยค : (ปุ.) เครื่องมัดสัตว์คือความพอใจในความมีความเป็น, เครื่องมัดสัตว์ คือความประกอบอยู่ในภพ.
มกจิวาก : นป. เส้นปอ, มัดปอ
มารพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกของมาร, เครื่องมัดของมาร, บ่วงของมาร, เครื่องผูกคือมาร, ฯลฯ.
อติพนฺธติ : ก. ผูกติด, มัดติด
อปฺเปติ : ก. ๑. แนบแน่น, แน่วแน่, ติดแน่น ;
๒. มัดเข้ากัน ;
๓. ไหลลงไปสู่
อพทฺธ : ค. ไม่ผูก, ไม่มัด, ไม่รึงรัด
อพนฺธ : (วิ.) ไม่ผูก, ไม่พัน, ไม่มัด, ไม่รัด, ไม่ติดต่อกัน.
อาพทฺธ : (ปุ.) การพัน, การผูกการมัด, เครื่องผูก. อาปุพฺโพ, พนฺธฺพนฺธเนอ, ยุ.ส.อาพนฺธอาพนฺธน.
อาพนฺธน : (นปุ.) การพัน, การผูกการมัด, เครื่องผูก. อาปุพฺโพ, พนฺธฺพนฺธเนอ, ยุ.ส.อาพนฺธอาพนฺธน.
อุฑฺฑิต : กิต. ผูกแล้ว, มัดแล้ว, ถูกผูกมัดแล้ว; บินขึ้นแล้ว
อุปนทฺธิ : (อิต.) กิเลสชาติเครื่องผูกพัน, การผูกพัน, การมัด, การรัด, การร้อยรัด. อิ. ปัจ.
อุปนิพชฺฌติ : ก. อันเขาผูก, อันเขามัด
อุปนิพทฺธ : กิต. ถูกผูกแล้ว, ถูกมัดแล้ว