มูลก : ป. เผือก, มัน
มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
ต : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
มนฺต : (ปุ.) มนต์, มนตร์ (คำสำหรับสวด คำสำหรับเสกเป่า), มันตะ ชื่อของพระเวท, พระเวท. วิ. มุนาติ ธมฺมํ อเนนาติ มนฺโต. มุนฺ ญาเณ, โต, อุสฺส อตฺตํ.
มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
มนฺถาน : (ปุ.) มันถานะ ชื่อภาชนะวิกัติสำหรับคนนมโคให้เป็นเนย.
มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
มนฺตา : (อิต.) ปรีชา, วิชา, ปัญญา. มนฺ ญาเณ, อนฺโต. ลบที่สุดธาตุ. อภิฯ.
มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
กณฺฑล : (ปุ.) มะพูด ต้นไม้ชนิดหนึ่ง ใบใหญ่ หนาเป็นมัน ผลกลม รสเปรี้ยวอมหวาน.
กณฺหชฏิ : ป. นักพรตที่มีผมสีดำหรือมีผมเป็นมัน
กณฺหอญฺชน : นป. การขัดจนเป็นมัน, การขัดให้เป็นเงา
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
กาลีย : นป. ไม้จันทน์ชนิดหนึ่งที่เลื่อมเป็นมัน
คชฺชิต : (ปุ.) ช้างซับมัน. วิ. คชฺโช สญฺชาโต ยสฺส โส คชฺชิโต. อิต ปัจ.
โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
จมุรุ : ป. สัตว์จำพวกกวางหรือชะมดชนิดหนึ่ง ซึ่งหนังของมันถูกนำมาใช้เป็นประโยชน์
จุจฺจุ : (อิต.) มัน, เผือก. จจฺจฺ ปริภาสนตชฺชเนสุ, อุ, อสฺสุ (แปลง อ ที่ จ เป็น อุ).
จุจฺจุ, จุจฺจู, (จจู) : อิต. มัน, เผือก, หัวผักกาดแดง
ตมฺพกมูล : นป. มันแดง, เผือก
เตลมิญฺชก : ป. ขนมทอดน้ำมัน
เตลิย : ค. อันเป็นมัน, มีมันมาก
ทาน : (นปุ.) น้ำมันเป็นเครื่องเมาแห่งช้าง (ก ริมท), น้ำมันช้าง (เวลาช้างตกมันจะมี มันเหลวเยิ้มออกจากขมับช้าง). วิ.ทียเตติทานํ. อภิฯ และฎีกาอภิฯ. ทา ทาเน อวขณฺฑเน วา, ยุ. ส. ทาน.
ปภินฺน : (ปุ.) ช้างซับมัน วิ. ทานํ ปภินฺนํ ยสฺส โส ปภินฺโน.
ปิจฺฉิล : ค. ลื่นเป็นมัน
พิฬาลี : อิต. แมวตัวเมีย, นางแมว; พืชที่มีหัวใต้ดินชนิดหนึ่ง, มันมือเสือ
มตฺต มตฺตหตฺถี : (ปุ.) ช้างซับมัน. มทฺ อุมฺมาเท, โต.
มตฺตหตฺถี : ป. ช้างซับมัน
มตฺถลุงฺค : (นปุ.) มันในศรีษะ, มันในสมอง, มันสมอง, เยื่อในสมอง.
มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
มูล มูลก : (ปุ.) มัน, เผือก. มูลฺ ปติฏฺฐายํ โรปเน. วา, อ. เป็น นปุ. ก็มี.
เมท : ป. มันข้น
เมท เมทก : (ปุ.) มัน, มันข้น, น้ำมันข้น. มิทฺ สิเนหเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
ยถาฐิต : ค. ตามที่ยืนอยู่แล้ว, ดังที่มันเป็นอยู่
ลสี : อิต. หัวสมอง, มันสมอง
วปา : อิต. มันข้น
วสา : อิต. มันเหลว, ไข
สหเสยฺยาปตฺติ : (อิต.) อาบัติในเพราะอันนอนรวมกัน, อาบัติในเพราะอันนอนร่วมกันกับอนุปสัมมัน.
อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
อาลุ : นป. หัวพืชที่กินได้, เง่ามัน; กาต้มน้ำ, หม้อ, หวด
นินฺน : (วิ.) ลุ่ม, ลึก. นิปุพฺโพ,มนฺ อภฺยาเส, โณ, มสฺส โน.
สมฺมต : (ปุ.) คำอันบุคคลพึงรู้ตาม, ถ้อยคำอันบุคคลพึงรู้ตาม. วิ. สมฺมนนิตพฺโพติ สมฺมโต. อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ. วิ. สมฺมนนํ สมฺมโต. สํปุพฺโพ, มนฺ โพธเน, ตกฺ ปจฺจโย. ลบที่สุดธาตุและ กฺ กัจฯ ๖๔๓.
ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
มญฺชูสา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง, หีบ. วิ. มญฺญติ สธนตฺตํ เอตายาติ มญฺชูสา. มนฺ ญาเน, โส, ชู มชฺเฌ, อิตฺถิยํ อา. เป็น มญฺชุสา ก็มี.
มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
มณิก : (นปุ.) อ่าง, ไห, ขวด, หม้อ, หม้อน้ำ, โอ่งน้ำ. มนฺ ญาเณ, อิ. ก สกัด.
มต : (วิ.) ตรัสรู้, รู้. มนฺ ญาเณ, โต.
มติ : (วิ.) ผู้รู้, เป็นเหตุรู้. มนฺ ญาเณ, ติ. นฺโลโป.