Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มั่นหมาย, หมาย, มั่น , then มน, มนหมาย, มั่น, มั่นหมาย, หมาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มั่นหมาย, 415 found, display 1-50
  1. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  2. ภณฺฑน : (นปุ.) การทะเลาะ, การทะเลาะกัน, การทุ่มเถียงกัน, การเถียงกัน, การแก่งแย่ง, การหมายมั่น, การด่า, การบริภาษ. ภฑิ ภณฺฑ ภณฺที ปริภาสเน, ยุ.
  3. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  4. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  5. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  6. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  7. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  8. เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
  9. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  10. อธิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, มั่น, เหนือ, เฉพาะ, เจริญ (เพิ่ม เติบโต งอกงาม).ส. อธิ
  11. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  12. อภิลกฺเขติ : ก. กะ, กำหนด, หมาย
  13. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  14. องฺกน : (นปุ.) การกำหนด, หมาย (หนังสือเกณฑ์ หรือหนังสือเกาะกุมตัว). เครื่องหมาย, การทำเครื่องหมาย, การประทับตรา.ยุปัจ.
  15. กลิมฺพก กฬิมพก : (นปุ.?) หมาย. กลียุค
  16. ติปุสผล : (นปุ.) แตงโม, แตงกวา. หมาย เอาผล.
  17. เถริย : (วิ.) มั่น. มั่นคง, ยั่งยืน.
  18. ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
  19. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  20. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  21. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  22. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  23. ทฬฺหี : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง.
  24. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  25. อุปาทานขนฺธ : (ปุ.) ขันธ์อัน สัตว์เข้าไปยึดถือไว้, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปถือ มั่น, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปยึดถือไว้.
  26. กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
  27. กติกา : (อิต.) การทำ, กฤษฎีกา. กติศัพท์ ก สกัด อา อิต. กติกา ไทยใช้ในความหมายว่า การนัดหมาย ข้อตกลง ข้อ บังคับ เงื่อนไขที่กำหนดไว้ สัญญาบัง เกิดแต่การทำ. กฤษฏีกา (แผลงมาจาก กติกา) ใช้เป็นชื่อของกฎหมาย ซึ่งฝ่าย บริหารบัญญัติออกใช้เมื่อคราวจำเป็นใน นามของพระมหากษัตริย์ เรียกว่าพระราช กฤษฎีกา.
  28. กติกาสณฺฐาน : นป. การเข้าถึง, การนัดหมายกัน, การตกลงกัน
  29. กทลิผล : (นปุ.) กล้วย (หมายเอาผลที่เกิด จากต้นกล้วย).
  30. กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
  31. กมฺมสมาทาน : (นปุ.) การยึดมั่นในกรรม, การถือกรรม.
  32. กรกผล : (นปุ.) ทับทิม (หมายเอาผล), ผล ทับทิม.
  33. กรณตฺถ : ป. อรรถหรือความหมายว่าเป็นเครื่องมือ, กรณอรรถ, อรรถที่ลงในตติยาวิภัตติ
  34. กฺริยากปฺปวิกปฺป : ป. ศาสตร์ว่าด้วยกระบวนการแต่ง (อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่กวี) หมายถึงเกฏุภศาสตร์
  35. กฺริยาจิตฺต : (นปุ.) กริยาจิต กิริยาจิต หมายถึง การทำของพระอรหันต์.
  36. กากบาท : (ปุ.) เท้าของกา, กากบาท ใช้เรียก รูปวรรณยุกต์ + เมื่อลงวรรณยุกต์นี้แล้ว ออกเสียงจัตวา และใช้เรียกรูป + (บวก) และรูป X (คูณ) คือใช้เรียกได้ทั้งเครื่อง หมายบวกและเครื่องหมายคูณ.
  37. กามุปาทาน : (นปุ.) ความยึดมั่นในกาม, ความถือมั่นในกาม.
  38. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  39. กายบริหาร : (ปุ.) การรักษาร่างกาย, การดูแลร่างกาย. คำกายบริหาร ไทยใช้ในความหมายว่า การบำรุงร่างกาย การออกกำลัง เพื่อรักษาร่างกาย.
  40. การนฺต : (ปุ.) ที่สุดแห่งอักษร, อักษรตัวที่สุด, อักษรตัวหลัง (ของศัพท์), ไทย การันต์ หมายถึงอักษรที่ไม่ออกเสียง ซึ่งมีไม้ “ ์“ กำกับไว้.
  41. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  42. กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
  43. กุฏุมฺพี : (ปุ.) คนมีทรัพย์, กุฏุมพี กระฏุมพี (คนมั่งมี, พ่อเรือน). ไทยใช้ กระฏุมพี หมายถึงคนชั้นเลวชั้นต่ำก็มี เช่น ไพร่ กระฏุมพี.
  44. กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
  45. กุลธีตุ : (อิต.) ธิดาแห่งตระกูล, ลูกหญิงผู้มีตระกูล, ลูกสาวผู้มีตระกูล, กุลธิดา. หมายถึงลูกของผู้มีสกุลดี หรือลูกสาวที่ รักษาความเป็นลูกผู้หญิงที่ดี มีมารยาทดี.
  46. เกตน : (นปุ.) การกำหนด, การหมาย, ธง, บ้าน, เรือน, ที่อาศัย. กิตฺ ญาณนิวาเสสุ,ยุ.ส.เกตน.
  47. เกสกมฺพลี : ค. ผู้ห่มผ้ากัมพลที่ทำด้วยผมมนุษย์ (หมายถึงอชิตเกสกัมพล)
  48. โกฏ : ค. (ภูเขา) มียอด; ป้อม, ที่มั่น
  49. โกฏฺฏ : (ปุ.) ที่มั่น, ป้อม. โกฏฺฏฺ เฉทเน, อ.ส. โกฏฺฏ.
  50. โกฏี : ค. มีจุดหมาย, มีที่สุด
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-415

(0.0811 sec)