ตปน : (วิ.) ระวัง, ป้องกัน,รักษา.
ตาณ : (วิ.) ต่อต้าน, ต้านทาน, ป้องกัน, เลี้ยง, รักษา. ตา ปาลเน, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ.
ตายติ : ก. คุ้มครอง, ป้องกัน, รักษา, ต้านทาน
ปฏิปณาเมติ : ก. ไล่กลับ, ส่งกลับ, ขับไล่, ป้องกัน
ปฏิพาหติ : ก. ห้าม, คัดค้าน, ป้องกัน, ขัดขวาง, ขจัด, ขับไล่
ปฏิเสธติ, - เธติ : ก. ปฏิเสธ, ห้าม, ป้องกัน, กีดกั้น, ขัดขวาง
ปิทหติ : ก. ปิด, คลุม, ห่อ, ป้องกัน
พาหติ : ก. กั้น, ป้องกัน
วาเรติ : ก. ห้าม, ป้องกัน
สนฺนิวาเรติ : ก. ห้าม, ป้องกัน
อนุปาเลติ : ก. รักษา, คุ้มครอง, ป้องกัน
อนุรกฺขติ : ก. ตามรักษา, คุ้มครอง, ป้องกัน
อปิทหติ : ก. ปิด, ซ่อน, ป้องกัน
อภินิคฺคณฺหาติ : ก. ยึด, ดึงกลับ, ป้องกัน, ห้าม
อารกฺขติ : ก. รักษา, คุ้มครอง, ป้องกัน, ดูแล
อาวรณ : (วิ.) ปิด, กั้น, ล้อม, กัน, ป้องกัน, ระวัง, ห้าม, ขัดขวาง, กำบัง.
กณฺฑวารณ : ค. ซึ่งป้องกันลูกศร
กทกี : อิต. เครื่องป้องกันฝน, เครื่องป้องกันน้ำ
ขตฺต : (ปุ.) กษัตริย์(ผู้ป้องกันประเทศ,นักรบ). ขฏฺฏฺ สํวรเณ, อ. แปลง ฏฺฏฺ เป็น ตฺต.
เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ชาลิกา : (อิต.) เกราะ (เครื่องสวมใส่หรือหุ้ม สำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย) ชลฺ ทิตฺติอปวารเณสุ, ณฺวุ, อิอาคโม. ส. ชาลปฺรายา.
ตายน : (นปุ.) การสืบต่อ, การติดต่อ, การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การระวัง. การป้องกัน การรักษา, ความสืบต่อ, ฯลฯ. ตายุ สนฺตานปาลเนสุ, ยุ.
ตายิตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การคุ้มครอง, การป้องกัน, การต้านทาน; เพื่อคุ้มครอง, เพื่อป้องกัน, เพื่อต้านทาน
ถก : (ปุ.) การกั้น, การปิด, การขัง, การระวัง, การป้องกัน, การจุก (อุด ปิด) ถกฺ สํวรเณ, อ, ยุ.
ถกน : (นปุ.) การกั้น, การปิด, การ ขัง, การระวัง, การป้องกัน, การจุก (อุด ปิด) ถกฺ สํวรเณ, อ, ยุ.
ทสฺสี : (วิ.) ผู้เห้น, ผู้เห็นโดยปกติ, ผู้มีอันเห็นเป็นปกติ, ผู้มีปกติเห็น. ทิสฺ เปกฺขเณ, ณี.ผู้คบ. ฯลฯ, ผู้ถือเอา, ฯลฯ, ผู้ระวัง, ฯลฯ, ผู้ป้องกัน, ฯลฯ, ทิสฺ อาทานสํวรเณสุ.
นาถติ : ก. ป้องกัน, คุ้มครอง, รักษา, เป็นที่พึ่ง
นิวาร : (ปุ.) การป้องกัน, ความป้องกัน. นิปุพฺโพ, วรฺ อาวรณ์เณ, โณ.
นิวารณ : (นปุ.) การปิด, การปิดบัง, การเปิด บังให้พ้นภัย, การเกียดกัน, การป้องกัน, การป้องกันให้พ้นภัย, การพิทักษ์รักษา, ความปิด. ฯลฯ. นิปุพฺโพ, วรฺ อา วรเณ, ยุ. ส. นิวารณ การขัดขวาง, การต่อต้าน.
นิวาเรติ : ก. ป้องกัน, กีดขวาง, ห้าม, ปฏิเสธ
นิวาเรตุ : ค. ผู้ห้าม, ผู้ป้องกัน, ผู้กีดขวาง, ผู้ปฏิเสธ
นิเสธ : ป. การห้าม, การป้องกัน, การกันไว้
นิเสธก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้ห้าม
นิเสเธติ : ก. ป้องกัน, ห้าม
นีวรณ : นป. การป้องกัน, การกีดขวาง
นีวรณีย : ค. ควรป้องกัน, ควรกีดขวาง
ปฏิฆาต : ป. การป้องกัน, การกำจัด; ความขัดเคือง, ความคับแค้น, ความไม่พอใจ
ปฏิจฺฉาที : อิต. เครื่องปกปิด, เครื่องป้องกัน, ผ้าปิด (ฝี), ยาพอกเพื่อถอนพิษ
ปฏิพาหก : ค., ป. ซึ่งห้าม, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งขัดขวาง; ยาถอน (พิษ)
ปฏิพาหน : นป. การห้าม, การป้องกัน, การขับไล่
ปฏิพาหิย : ค. ซึ่งจะต้องขัดขวางหรือป้องกัน
ปฏิเสธก : ค., ป. ผู้ปฏิเสธ, ผู้ห้าม, ผู้ป้องกัน, ผู้กีดกั้น
ปทุมวฺยูห : ป. ยุทธวิธีแบบหนึ่งซึ่งมีการจัดพลรบเป็นแนวป้องกันรูปวงกลมซ้อนกันเป็นชั้นๆ
ปริขา : (อิต.) คู ชื่อร่องน้ำที่ขุดขึ้นพื่อเป็น เครื่องกีดขวางป้องกัน หรือเก็บน้ำไว้ใช้, สนามเพลาะ ตือคูที่ขุดบังข้าศึก. วิ. ปริ สมนฺตโต นครสฺส พาหิเร ขญฺญตีติ ปริขา. ปริปุพฺโพ, ขณุ อวทารเณ, โร. รูปฯ ๕๗๙.
ปริตฺต, ปริตฺตก : ๑. ค. นิดหน่อย, เล็กน้อย ;
๒. นป. ความต้านทาน, เครื่องป้องกัน
ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
ปริตฺตาณกิฏิก : (ปุ.) แผงป้องกันฝนสาด, กันสาด ชื่อเพิงที่ต่อจากชายคาสำหรับ กันฝน. ปริตฺตาณ+กิฎิก.
ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
ปริหาร : ป. การบริหาร, การคุ้มครอง, การป้องกัน, การดูแล