มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
อุปสมน, - มาน :
นป. ดู อุปสม
มานน : (นปุ.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ. มานฺ ปูชายํ, ยุ.
มานนา : (อิต.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ. มานฺ ปูชายํ, ยุ.
มานส : (วิ.) มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มานสํ (สุขํ วา ทุกฺขํ วา). ณ ปัจ. สฺ อาคม รูปฯ ๓๖๒.
มานสิก : (วิ.) อัน...กระทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสากตํ มานสิกํ. มีในใจ วิ. มนสิ ภวํ มนฺสิกํ. อันเป็นไปในใจ วิ. มนสิ ปวตฺตนํ มานสิกํ. ณิกปัจ.
มานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนกโดยมาน, โดยการจำแนกโดยการนับ. วิ. มาเนน วิภาเคน มานโส. โส ปัจ. วิภาคตัท.
มานชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งความเย่อหยิ่ง, ฯลฯ.
มานตฺต : (นปุ.) มานัด ชื่อของการประพฤติวัตรเนื่องด้วยการนับราตรี.
มานตฺตทฺธ : ค. กระด้างด้วยการถือตัว
ตุฏฺฐมานส : (วิ.) ผู้มีใจยินดีแล้ว, ผู้มีฉันทะ มีในใจยินดีแล้ว. ดู มานส ประกอบ.
พหุมาน : ป., พหุมานน นป. ความเคารพนับถือมาก
สมฺมาน : (ปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
สมฺมานน : (นปุ.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
สมฺมานนา : (อิต.) ความยกย่อง, ความนับถือ, ความเคารพ. สํปุพฺโพ. มานฺ ปูชายํ, อ, ยุ. ส. สมฺมาน, สมฺมานน.
สมฺมานส : (วิ.) มีใจเสมอกัน, สม+มานส.
อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
มานี : (วิ.) มีมานะ. อี ปัจ. ตทัสสัทถิตัท.
อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
กูฏมาน : นป. เครื่องชั่งโกง, เครื่องตวงวัดที่ไม่ถูกต้อง
ฉายามาน : นป. การนับหรือการวัดเงา, การนับเวลา
ตุฏฺฐจิตฺต, - มานส : ค. มีใจยินดีแล้ว, มีใจร่าเริงแล้ว, เบิกบานแล้ว
นิมฺมาน : (นปุ.) การสร้าง, การแปลง, การทำ, การนิรมิต, การเนรมิต. นิปุพฺโพ, มาปฺ มาปเน, ยุ. ลบปฺ ซ้อน มฺ. ส. นิรฺมิติ, นิรฺมาณ.
อธิมาน : ป. ความทะนงตัว, ความเย่อหยิ่ง
อนภิสมฺภุณมาน : ค.หาไม่ได้, ไม่บรรลุ, ไม่สำเร็จ
อวเสมาน : ค. นอน, บรรทม
อวิสาหฏมานสตา : (อิต.) ความที่แห่งบุคคลเป็นผู้มีจิตไม่ส่ายแล้ว, ความที่แห่งจิตเป็นจิตไม่ส่ายแล้ว, ความแน่วแน่.
อุทฺธพาหุทฺวยุมฺมาน : (นปุ.) วา (วัดชั่วสอง แขน).
อุมฺมาน : (วิ.) ชั่งน้ำหนัก, เทียบ, เทียบกัน, วัด, วัดกัน. อุปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
จนฺทิมนฺตุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ วิ. จนฺทํ กปฺปูรํ มาติ สทิสํ นยตีติ จนฺทิมา. จนฺทปุพฺโพ, มา มานสทฺเทสุ, ตุ,นฺตุอาเทโส ( แปลง ตุ เป็น นฺตุ ), อิการาเทโส ( แปลง อ ที่ ท เป็น อิ ). ฎีกาอภิฯ.
ชฐรามย : (ปุ.) โรคท้องมาน ชื่อโรคที่ทำให้ ท้องพองโต มีหลายชนิด ชฐ + อามย รฺ อาคม.
ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
ทิฆมฺพร : (นปุ.) ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน. ทีฆ+อมฺพร รัสสะ อี เป็น อิ. ส. โวฺยมนฺ.
นตฺตมาล นตฺตมาลก : (ปุ.) ไม้กระเช้า, ไม้ กุ่ม, กถินพิมาน. วิ. นตฺตา มาลา ยสฺส โส นตฺตมาโล. ศัพท์หลัง ก สกัด.
นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
นาคปุปฺผ : นป. ดอกกากะทิง, ดอกนากพุด, ดอกกะถินพิมาน
นาคมาลิกา : (อิต.) ไม้กากะทิง, กถินพิมาน. วิ. นาคานํ มาลา, สญชาตา ยตฺร สา นาคมาลิกา.
นาควน : นป. ป่าไม้กากะทิง, ป่ากะถินพิมาน; ป่าที่มีช้าง, ป่าช้าง
นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
มาตุ : (อิต.) แม่ วิ. ปุตฺตํ มาเนตีติ มาตา (รักลูก). มานฺ ปูชายํ, ราตุ. ปาตีติ วา มาตา (ดูดดื่ม ซาบซึ้งในลูก). ปา ปาเน, ตุ. แปลง ปา เป็น มา. ศัพท์ มาตุ นี้แปลว่า ยาย ก็ได้. มาตุมาตุ. อภิฯ.
มานว : (ปุ.) ชาย, ผ้ชาย, คน, บุคคล. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานโว. ณว ปัจ. รูปฯ ๓๕๖.
ยญฺญงฺค : (ปุ.) มะเดื่อ, มะเดื่อชุมพร. วิ. ยญฺญกมฺมาน มงฺโค เอกงฺคตฺตา ยญฺญงฺโค.
สาณิ : (อิต.) ม่าน, ผ้าม่าน, มู่ลี่, ฉาก, พระวิสูตร.
อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
อภิชปฺปา : (อิต.) ความที่จิตปรารถนา, ความปรารถนายิ่ง.อภิปุพฺโพ, ชปฺมานเส, อ, ทฺวิตฺตํ.
อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.