มา : (อิต.) บริษัท, สิริ, มารดา.
มาตลี : (ปุ.) มาตลี ชื่อเทพบุตรผู้เป็นสารถีของรถพระอินทร์ วิ. มาตลาย อปจฺจํ มาตลี. ณี ปัจ. มา มาตา วิย สตฺตานํ หิตสุขํตลตีติ วา มาตลี. มาปุพฺโพ, ตลฺ ปติฏฺฐายํ, ณี.
มาตงฺค : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. มหนฺตํ องฺคํ เอตสฺสาติ มาตงฺโค (สัตว์มีตัวใหญ่). มหนฺต+องฺค ลบ หนฺต แปลง อ ที่ ม เป็น อา.
มาควิก : (นปุ.) พรานเนื้อ วิ. มเค หนฺตฺวา ชีวตีติ มาควิโก. ณิก ปัจ. วฺ อาคม รูปฯ ๓๖๐.
มาตามห : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่) วิ. มาตุ ปิตา มาตามโห. อามห ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฺฑ์ ๓๘.
มาติย : (ปุ.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, วิ. มาติโต สมฺภูโต มาติโย. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑.
มาตุจฺฉา : (อิต.) ป้า, น้า (พี่น้องหญิงของแม่). วิ. มาตุยา ภคินี มาตุจฺฉา. จฺฉ ปัจ. อา อิต.
มาตุล : (ปุ.) ลุง, น้า (พี่ชาย น้องชายของแม่). วิ. มาตุยา ภาตา มาตุโล. อุล ปัจ.
มาตุลุงฺค : (ปุ.) มะงั่ว วิ. มตฺโต ลุชฺชติ อเนนาติ มาตุลุงฺโค. มตฺตปุพฺโพ, ลุชฺ วินาเส, อ. มะกรูด มะนาว ก็แปล.
มานุส : (ปุ.) เหล่ากอของพระมนู, ลูกหลานของพระมนู, คน, ชาย, ผู้ชาย. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานุโส. ณ ปัจ. โคตตตัท. สฺ อาคม รูปฯ ๓๕๖.
มานุสฺสก : (ปุ.) ประชุมแห่งมนุษย์, หมู่แห่งมนุษย์. วิ. มนุสฺสานํ สมุโห มานุสฺสโก. กณฺ ปัจ. รูปฯ ๓๖๔.
มาตงฺคมุทฺธปิณฺฑ : (ปุ.) น้ำเต้าแห่งช้าง ชื่อ อวัยวะส่วนนูนที่อยู่โคนงวงช้าง.
มาตาเปติก : ค. เป็นของมารดาและบิดา
มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
มาตามหยฺยิกา : (อิต.) ยายทวด (แม่ของตา แม่ของยาย).
มาติปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายข้างมารดา.
มาตุกุจฺฉิ : อิต. ครรภ์มารดา
มาตุปฏฺฐาน : (นปุ.) การบำรุงมารดา.
มานภณฺฑ : (นปุ.) เครื่องชั่งของ.
มานว : (ปุ.) ชาย, ผ้ชาย, คน, บุคคล. วิ. มนุโน อปจฺจํ มานโว. ณว ปัจ. รูปฯ ๓๕๖.
มานานุสย : (ปุ.) กิเลสเป็นที่มานอน คือ มานะ, กิเลสที่นอนเนื่องในสันดานคือมานะ.
มานุญฺญก : (นปุ.) ความเป็นแห่งของที่เป็นที่ฟูใจ. มนุญฺญ+กณฺ ปัจ. ภาวตัท.
มานุสก : (วิ.) เป็นของมีอยู่แห่งมนุษย์, เป็นของแห่งมนุษย์, เป็นของมนุษย์. ก ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๐.
มานุสี : (วิ.) นี้แห่งมนุษย์.
มาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, บูชา
มาเปติ : ก. ให้สร้าง
มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
มายุ : (ปุ.) ดี, น้ำดี. มยฺ คติยํ, ณุ.
มายูร : ป. ฝูงนกยง
มารก : ค. ผู้ฆ่า
มารณ : (นปุ.) การยัง...ให้ตาย, การฆ่า, การฆ่มฟัน. มรฺ+ยุ ปัจ.
มารพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกของมาร, เครื่องมัดของมาร, บ่วงของมาร, เครื่องผูกคือมาร, ฯลฯ.
มาราธิราช : (ปุ.) มารผู้เป็นใหญ่ยิ่งกว่ามาร, มารผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, พญามาร.
มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
มาเรติ : ก. ให้ตาย
มาลาคจฺฉ : ป. พุ่มดอกไม้
มาลาคุมฺพฏก : ป. พวงมาลัย
มาลาคุฬ : นป. กอดอกไม้, พุ่มดอกไม้
มาลาวจฺฉ : นป. สวนดอกไม้
มาลิก : (ปุ.) ช่างทำดอกไม้, ช่างกรองดอกไม้, ช่างดอกไม้. อิก ปัจ.
มาลิกา : (อิต.) มะลิซ้อน.
มาลุวา : (อิต.) เครือเถาย่านทราย, เครือย่านทราย, เถาย่านทราย, เถาย่างทราย, เถากระพังโหม.
อุมฺมา : (อิต.) ฝ้าย, ผักตบ, ดอกไม้สีเขียว, ดอกไม้สีเขียวฟ้า. ไตร ๑๐ / ๑๒๙. อวฺ รกฺขเณ, โม, อวสฺสุ (แปลง อว เป็น อุ), ทวิตฺตํ (แปลง ม เป็น มฺม). เป็น อุมา โดยไม่แปลงบ้าง.
กาสฺมรี กาสฺมารี กาสฺมิรี : (อิต.) ไม้มะรื่น, ไม้มะดูก, ไม้ไข่เน่า, ไม้มะตูม, กะบก. กสฺมีรเทเส ชาตตฺตา กาสฺมารี. กาสฺ ทิตฺติยํ วา, มโร, อิตฺถิยํ อี.
มาตามหา มาคามหี : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่) วิ. มาตุ มาตา มาตามหา มาตามหี วา. อามห ปัจ. อา อี อิต. ย่า (แม่ของพ่อ) วิ. ปิตุโน มาตา ปิตามหา ปิตามหี วา.
ยามา : (อิต.) เทวดาชั้นยามะ วิ. ทุกฺขโต ยาตา อปคตาติ ยามา (ปราศจากความลำบาก). ทิพฺพสุขํ ยาตา ปยาตา สมฺปตฺตาติ ยามา (ถึงแล้วซึ่งความสุขอันเป็นทิพ). จากอภิธรรม.
โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
ติยามา : (อิต.) กลางคืน วิ. ตโย ยามา เอตฺถาติ ติยามา.
ทุมาสิก : ค. (ผม) ซึ่งงอกขึ้นมาเป็นเวลาสองเดือน