ภูต : (วิ.) ล่วงไปแล้ว, มีอยู่, เป็นอยู่, เสมอกัน, เท่ากัน, จริง, แท้.
ภูติ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง, มั่งคั่ง, สำเร็จ.
ภูวิ : (วิ.) มี, เป็น, มีอยู่, เป็นอยู่, เจริญ, รุ่งเรือง. วิ ปัจ.
สมฺภวติ : ก. เกิด, เจริญ, มีอยู่
อวิทฺธสน : (วิ.) ไม่กระจัดกระจาย, ไม่ขจัดขจายไม่สลาย, มีอยู่, คงที่.
สนฺติ : ๑. อิต. ความสงบ;
๒. ก. มีอยู่
สวิชฺชติ : ก. มีอยู่
อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
อตฺถิ : (อัพ. นิบาต) มี, มีอยู่. ใช้เป็นประธานบ้าง.อตฺถิที่เป็นกิริยาอาขยาต เป็นอสฺ ธาตุออัจ. ติวิภัติ แปลง ติ เป็น ตฺถิลบ ที่สุดธาตุเป็นได้ทั้งสองวจนะ.
อมฺหา : ๑. อิต. แม่โค ;
๒. ก. (เรา) มีอยู่, เป็นอยู่
อมฺหิ : ก. (ข้า) มีอยู่, เป็นอยู่
คิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, หมดแรง, เหนื่อย, ระบม, ไม่สบาย
ตนฺทิต : ค. เมื่อย, เฉื่อยชา, ขี้เกียจ
นตฺถิ : ก. ไม่มี, ไม่อยู่
อากิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, ไม่สบาย
อาคิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, เจ็บปวด, ไข้, ไม่สบาย