Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มุสะ , then มส, มุส, มุสะ, มุสา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มุสะ, 30 found, display 1-30
  1. มุสา : (อัพ. นิบาต) เหลาะ แหละ, พราง, ผิด, ไม่จริง, เท็จ.
  2. มุสาวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งคำเท็จ, การกล่าวซึ่งคำปด, การพูดเท็จ, การพูดปด, การกล่าวคำเท็จ, คำเท็จ, คำปด, คำไม่จริง.
  3. มุสาวาทาเวรมณีอาทิ : (วิ.) (วจีสุจริต) มีเจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดเท็จ เป็นต้น.
  4. เมส : (ปุ.) เมส เมษ ชื่อกลุ่มดาวราศีที่ ๑. มิสฺ สทฺเท, โณ.
  5. โมส โมสก : (ปุ.) โจร, ขโมย. มุสฺ เถยฺเย, โณ, ณฺวุ.
  6. มสิ : (นปุ.) เขม่า, หมึก, น้ำหมึก. มสุ อามสเน, อิ.
  7. โมส : (ปุ.) การลัก, การขโมย, โจรกรรม.
  8. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  9. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  10. มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
  11. มตฺถก : (ปุ.) หัว, กระหม่อม, สมอง, สมองศรีษะ, ปลาย, ยอด. มสฺ อามสเน, ตฺโถ, สกตฺเถ โก จ. มสิ ปริ-มาเณ วา.
  12. มตฺถุ : (นปุ.) เนยเหลว วิ. ทธึ อามสตีติ มตฺถุ. มสฺ อามสเน, ถุ, สสฺส โต. มสิ ปริมาเณ วา.
  13. มสก : (ปุ.) ริ้น, ยุง, บุ้ง, ร่าน. มสฺ หึสาสทฺเสสุ, อ. ก สกัด หรือลง ณฺวุ ไม่ทีฆะ.
  14. มสฺสุ : (นปุ.) หนวด วิ. มสียตีติ มสฺสุ. มสฺ อามสเน, สุ.
  15. มสารก : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าในขา. วิ. ยสฺส ปาทจฺฉิทฺเท อฏนิ ปเวเสตฺวา ติฏฺฐติ โส มสารโก. มสฺ อามสเน อร ปัจ. ก สกัด.
  16. มสูร : (ปุ.) ข้าวเปลือกวิเสส, เบาะ, แก้วมณี, ถั่วราชา. มสฺ อามสเน, อูโร. รูปฯ ๖๔๔.
  17. มาสก : (ปุ.) มาสก ชื่อมาตรานับเงิน ๒ กุญชาเป็น ๑ มาสก ๕ มาสกเป็น ๑ บาท. มสฺ อามสเน, ณฺวุ.
  18. มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  19. มุสน : (นปุ.) การลัก, การขโมย. มุสฺ เถยฺเย, ยุ.
  20. มุสล : (ปุ. นปุ.) สาก, ตะบอง, ไม้ตะบอง, ตะลุมพุก. มุสฺ ขณฺฑเน เถยฺเย วา, อโล. อถวา, มุสฺ ปาณจาเค.
  21. มุสิก : (ปุ.) หนู, มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ แปลง ณฺวุ เป็น อก อ+สฺ เป็น ส แปลง อ ที่ ส เป็น อิ. ดู มูสิก.
  22. มูสา : (ปุ.) หนู วิ. มุสติ เถเนตีติ มูสิโก. มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ, อิตฺตญฺจ, ณิโก วา, ทีโฆ จ.
  23. สมฺมสน : (นปุ.) การลูบคลำ, ความลูบคลำ. สํปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ.
  24. สมฺมิสฺส : (วิ.) เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, รวมกัน, ผสม, ผสมกัน, ระคน, คลุกเคล้า. สํปุพฺโพ, มิสฺ มิสฺเส, อ. แปลง ส เป็น สฺส.
  25. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  26. สมฺโมส : (ปุ.) ความเผลอเรอ, ฯลฯ. สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, โณ.
  27. อนจฺฉ : (วิ.) ไม่ใส, ขุ่นมัว.วิ.นตฺถิอจฺฉภาโวอตฺราติอนจฺโฉ.
  28. อปฺปสนฺน : ค. ๑. ไม่เลื่อมใส ; ๒. ไม่ใส, ไม่ผ่องใส
  29. อุมส อุมฺมส : (วิ.) ทิ่มแทง, เสียดแทง, ด่า, พ้อ. อุปุพฺโพ, มสฺ หึสายํ, อ. ศัพท์หลัง ซ้อน มฺ.
  30. โอมส : (วิ.) แทง, ทิ่มแทง, เสียดแทง. โอ ปุพฺโพ, มสฺ หึสายํ, อ.
  31. [1-30]

(0.0541 sec)