Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มุ่งหวัง, หวัง, มุ่ง , then มง, มงหวง, มุ่ง, มุ่งหวัง, หวง, หวัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มุ่งหวัง, 121 found, display 1-50
  1. ปณิทหติ : ก. ตั้ง (จิตหรือกาย), ดำรง, มุ่งมั่นปรารถนา, มุ่งหวัง
  2. ปตฺถยติ : ก. ปรารถนา, อยากได้, มุ่งหวัง
  3. กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
  4. ปณิธาย : อ. ตั้งไว้แล้ว, ดำรงไว้แล้ว, ตั้งความปรารถนาแล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  5. ปตฺถยาน : กิต. ปรารถนาอยู่, มุ่งหวังอยู่
  6. ปตฺถิต : กิต. (อันเขา) ปรารถนาแล้ว, อยากได้แล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  7. ปุญฺญเปกฺข : ค. ผู้มุ่งบุญ, ผู้หวังบุญ
  8. อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
  9. เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
  10. อนุกงฺขี : ค. จำนง, หวัง, ปรารถนา
  11. อภิกงฺขติ : ก. ปรารถนา, จำนง, หวัง
  12. อภิสึสติ : ก. ปรารถนา, จำนง, หวัง
  13. อาสยติ : ก. ประสงค์, ปรารถนา, หวัง
  14. อาสสาน : ค. ปรารถนา, หวัง
  15. อุทิกฺขติ : ก. มองดู, ตรวจดู; หวัง; ริษยา
  16. อุลฺโลเลติ : ก. โลเล, เหลาะแหละ, ปั่นป่วน; หวัง, จำนง
  17. ปฏิกงฺขติ : ก. หวัง
  18. อาสึสนก : ค. หวัง
  19. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  20. กงฺขี : ค. ผู้สงสัย, ผู้หวัง
  21. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณา
  22. ขณาตีต : ค. ล่วงโอกาส, พลาดหวัง
  23. ขุปฺปิปาสา : (อิต.) ความหวังเพื่ออันกินและ ความหวังเพื่ออันดื่ม, ความหวังในอันกิน และความหวังในอันดื่ม, ความปรารถนาใน อันดื่ม, ความหิวและความกระหาย. วิ. ขุทฺทาสา จ ปิปาสา จ ขุปฺปิปาสา. ลบ บท หน้า เหลือ ขุ ซ้อน ปุ.
  24. คนฺธาสา : อิต. ความหวังหรืออยากในกลิ่น
  25. จิกิจฺฉติ : ก. คิด, ใคร่ครวญ, พิจารณา, ตั้งใจ, มุ่งหมาย; เยียวยา, รักษา
  26. เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
  27. เจตยติ : ก. จงใจ, ตั้งใจ, มุ่งหมาย, คิด
  28. เจตยิต : กิต. (อันเขา) จงใจแล้ว, ตั้งใจแล้ว, มุ่งหมายแล้ว
  29. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  30. ฉินฺนาส : ค. ผู้มีความหวังอันขาดแล้ว, ผู้หมดหวัง
  31. ชีวิตาสา : อิต. ความหวังในชีวิต, ความต้องการเป็นอยู่
  32. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  33. ตเรสี : ค. ผู้ต้องการจะข้ามไป, ผู้หวังจะผ่านไป
  34. โทสนฺตร : ค. ผู้มุ่งร้าย, ผู้ประสงค์ร้าย
  35. ธนาสา : อิต. ความหวังในทรัพย์, ความปรารถนาทรัพย์
  36. ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
  37. ธมฺมาภิมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะธรรม, ผู้มุ่ง แต่ความถูกต้อง, ผู้มุ่งแต่ยุติธรรม. ส. ธรฺมาภิมุข.
  38. นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.
  39. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  40. นิราส : ค. ไม่มีความปรารถนา, ไม่มีความอยาก, หมดหวัง
  41. นิราสส : ค. ปราศจากความปรารถนาหรือความหวัง
  42. ปจฺจาสึสติ : ก. หวัง, ปรารถนา, รอท่า
  43. ปฏิวิรุชฺฌติ : ก. โกรธ, มุ่งร้าย, ขัดใจ, ขัดแย้ง
  44. ปฏิวิโรธ : ป. ความมุ่งร้าย, ความขัดเคือง, ความผิดใจกัน, ความขัดแย้งกัน
  45. ปณิหิต : กิต. (อันเขา) ตั้งไว้แล้ว, มุ่งแล้ว, ปรารถนาแล้ว
  46. ปตฺตกฺขนฺธ : ค. ซึ่งคอตก, ซึ่งเศร้าใจ, ซึ่งตรอมใจ, ซึ่งผิดหวัง
  47. ปตฺถนา : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ความต้องการ, ความอยากได้, ความปรารถนา. ปตฺถยาจนายํ, ยุ, อิตถิยํ อา. ส. ปรารถนา.
  48. ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
  49. ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
  50. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-121

(0.0486 sec)