จมฺม, - มก : นป. หนัง; โล่
จริม, - มก : ค. อันสุดท้าย, อันหลัง
ทีฆโลม, - มก : ค. มีขนยาว
มกรนฺท : (ปุ.) รสแห่งดอกไม้, รสแห่งอ้อย. วิ. มกฺขิกา รมนฺติ เอตฺถาติ มกรนฺโท. อภิฯ วิ. มกฺขิกา รมนฺติ ยสฺมึ โส มกรนฺโท.
มกจิ : (นปุ.) ปอ. กจฺ พนฺธเน, อิ. เท๎วภาวะ ก แปลงเป็น ม.
มกจิวตฺถ : นป. ผ้าใบ
มกจิวาก : นป. เส้นปอ, มัดปอ
มกรสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) มะโรง, ปีงูใหญ่.
มกสาวรณ : (นปุ.) มุ้งกันยุง, มุ้ง.
กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
ฌามก ฌาวุก : (ปุ.) ไม้ชาเกลือ? ไม้กรดมูก, ไม้ชิงชี่. ชิงขี้ ก็เรียก.
กมฺมก : ค. ที่เนื่องด้วยกรรม, ซึ่งอาศัยกรรม
กมฺมกถา : อิต. การกล่าวเรื่องของกรรม, กรรมบรรยาย
กมฺมกรณา : อิต. กรรมกรณ์, การลงโทษทางกาย, เครื่องทรมานทางกาย
กมฺมกริยาทสฺสน : นป. ความเห็นในการกระทำกรรม, ทัศนะในการทำงาน
กามก : ค. ผู้มีความใคร่, ผู้มีความอยาก
กุมฺม กุมฺมก : (ปุ.) เต่า, เต่าตัวผู้. วิ กุจฺฉิโต อูมิเวโค อสฺสาติ กุมฺโม. ณ ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. ลบ จฺฉิต อู และ อิที่มิ เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ม ซ้อน มฺ. กโรตีติ วา กุมฺโม. กรฺ กรเณ, รมฺโม. แปลง กรฺ เป็น กุ. กุรตีติ วา กุมฺโม. กุรฺ สทฺเท, รมฺโม. แปลว่า เต่าเหลือง เต้าน้ำ กระบอกน้ำ หม้อ หม้อน้ำ ก็มี.
คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
จตุภูมก, - มิก : ค. มีสี่ภูมิ, มีสี่ชั้น
ฌามก : (นปุ.) ข้าวไหม้, ข้าวคั่ว, ข้าวตัง, เตาเผา, เตาเผาอิฐ.
ถามก : ค. มีเรี่ยวแรง, มีกำลัง
ทุนฺนามก : (นปุ.) ริดสีดวงงอก วิ. อมงฺคลตาย ทุ นินฺทิตํ นาม มสฺสาติ ทุนฺนามกํ. ก สกัด.
ธมฺมกถา : อิต. ธรรมกถา, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม, การสนทนาธรรม
ธมฺมกรก : ป. ธมกรก, เครื่องกรองน้ำ
ธมฺมกลา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำอันเป็นธรรม.
นามก : ค. มีนาม, มีชื่อ, โดยชื่อ
นิยามก : (ปุ.) คนขับรถ, คนถือท้ายเรือ, นาย ท้าย, นายท้ายเรือ, ต้นหน, ฝีพาย (คน พายเรือ). วิ. นิยจฺฉติ โปตมิติ นิยามโก. นิปุพฺโพ คมเน, ยมุ อุปรเม, ณวุ.
นิสามก : ค. ผู้ใคร่ครวญ, ผู้ตั้งใจฟัง, ผู้ตั้งใจ
ปทฺมก : (ปุ.) บัวบก,
เปมก : ป., นป. ความรัก
พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
ภูม ภูมก : (ปุ.) ชั้น, ขอบเขต, พื้น, พื้นดิน, สถานที่.
มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
รมฺมก : ป. ชื่อเดือนจิตรมาส ตรงกับเดือนเมษายน
โรมก : ค. ซึ่งเป็นชาวโรมัน
วิธมก : ค. ผู้ทำลาย
อกามก : ค. ไม่พอใจ,ไม่ใยดี
อฏฺฐม, อฏฺฐมก : ค. ที่แปด, อันดับที่แปด.
อภิธมฺมกถา : (อิต.) กถาว่าด้วยอภิธรรม.
อมามก : ค. ไม่ใช่ของเรา, ไม่เป็นของเรา
อาชีวฏฺฐมกสีล : (นปุ.) ศีลมีอาชีวะเป็นที่แปด, ศีลมีการเลี้ยงชีพบริสุทธิ์เป็นที่แปดคือกายสุจริต๓วจีสุจริต๔และสัมมาอาชีวะ๑.
อามกสาก : ป., นป. ผักดิบ, ผักสด
อามกสุสาน : (นปุ.) ป่าช้าผีดิบ.
อามอามก : (วิ.) ดิบ, สด, คาว.ส.อาม
โอโกฏิมก : (วิ.) มีรูปร่างเล็ก.
โอนมก : ค. ซึ่งก้มลง, ซึ่งโน้มลง
โอมก : (วิ.) ต่ำ, ต่ำต้อย, เลว, ทราม, เลว ทราม, ลามก, เล็ก. อมฺ นินฺทายํ, โณ. อภิฯ และฎีกาฯ ลง อ ปัจ. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.