มโนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็นไปแล้วในมโนทวาร วิ. มโนทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันเป็นไปแล้วในใจ วิ. มนสฺมึ ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสา กตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. การทำด้วยใจ, การทำทางใจ. วิ. มนสา กมฺมํ มโนกมฺมํ.
มโนมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยใจ, มโนมัย. วิ. มนโต นิปฺผนฺนา มโนมยา (ธมฺมา). มย ปัจ. ปกติตัท.
มโนทฺวาร : นป. มโนทวาร, ทวารแห่งใจ, ทางใจ
มโนธาตุ : อิต. พลังแห่งใจ, มโนธาตุ
มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
มโนภู : (ปุ.) ความเป็นในใจ, ความมีในใจ, ความโลภ, กามเทพ. วิ. สิงฺคารรูเปน ปาณีนํ มนสิ ภวตีติ มโนภู. กฺวิ ปัจ.
มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
มโนสิลารส : (ปุ.) รสแห่งมโนสิลา, น้ำแห่งมโนสิลา.
มโนโตส : (ปุ.) ความยินดีแห่งใจ, ความแช่มชื่นแห่งใจ, ฯลฯ. มน+โตส.
มโนชว : ค. เร็วทันใจ
มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
มโนธมฺม : (ปุ.) ธรรมของใจ, ธรรมสำหรับใจ, ใจมีธรรม คือมีความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ.
มโนปโทส : (ปุ.) ความประทุษร้ายในใจ, ความประทุษร้ายด้วยใจ.
มโนปสาท : ป. ความเสื่อมใสทางใจ
มโนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งใจ, ความปรากฏในใจ, มโนภาพ คือ ความคิดเห็นเป็นภาพขึ้นในใจ.
มโนวิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้แจ้งด้วยใจ, ความรู้ทางใจ, ความรู้ด้วยใจ.
มโนวิญฺเญยฺย : ค. พึงรู้ได้ทางใจ
มโนวิตกฺก : ป. ความคิด, ความคำนึง
มโนสญฺเจตนา : (อิต.) ความจงใจแห่งใจ, ความจงใจ.
มโนสมฺผสฺส : (ปุ.) ความถูกต้องด้วยใจ.
มโนสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบด้วยใจ, ความประพฤติชอบทางใจ.
มโนสิลา : (อิต.) น้ำชาด (คุณสมบัติหรือสาระของชาด). ชาดก้อน. ชาดเป็นชื่อของวัตถุสีแดงเป็นผงก็มี เป็นก้อนก็มี.
มโนเสฏฺฐ : (วิ.) มีใจประเสริฐสุด.
มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
ทุมน ทุมฺมน : (วิ.) มีใจอันโทษประทุษร้าย แล้ว วิ. ทุฏฺโฐ มโน ยสฺส โส ทุมโน ทุมฺมโน วา. มีใจชั่ว, มีใจชั่วร้าย วิ. ทุ ทฏฺโฐ มโน อสฺสาติ ทุมโน. เสียใจ ยินร้าย วิ. ทุฏฺฐุ ทุกฺขิตํ วา มโน ยสฺส โส ทุมโน. ศัพท์ หลังซ้อน มฺ.
มโนรถ : (ปุ.) ความประสงค์ดุจรถแห่งใจ, ความปรารถนาเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความปรารถนาแห่งใจ, ฉันทะเป็นที่ยินดีแห่งใจ, ความหวัง, ความประสงค์, ความใฝ่ฝัน, ความอยาก, ความปรารถนา, ตัณหา. วิ. จิตฺตสฺส นานารมฺมเณสุ วิพฺภมกรณโต มนโส รโถ อิว มโนรโถ. รหียตีติ รโถ. รหฺ อุปาทาเน, โถ. ลบ หฺ. มโน เอว รโถ วิยาติ วา มโนรโถ.
มโนรม : (วิ.) เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, เป็นที่ขอบใจ, เป็นที่ยินดีแห่งใจ, งาม ดี ดีนัก. วิ. มโน รมตฺยสฺมินฺติ มโนรมมํ. รมุ รมเณ, อ.
สิลุตฺต : (ปุ.) งูเรือน, งูกินหนู. วิ. นิพฺพิสตาย อมาริตตฺตา สีลยุตฺตํ อตฺตํ มโน ยสฺมึ โส สีลุตฺโต. สลี+อตฺต รัสสะ อี เป็น อิ แปลง อ ที่ ล เป็น อุ.
หาร : (ปุ.) แก้วมุกดาที่ร้อยด้วยด้าย, สร้อยไข่มุก, สร้อยคอ, สายสร้อย. วิ. หรียเต มโน เยน โส หาโร. หรฺ หรเณ, โณ.
กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
มญฺเญ : (อัพ. นิบาต) เห็นจะ, ทำนอง, บางที, ราวกะ, ดังเราจะกริ่งมโนนัย.
อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
อสฺมปุปฺผ : (นปุ.) กำยาน. วิ. อสฺมโนปุปฺผํ อสฺมปุปฺผํ.สมอ, หญ้าแห้วหมู ?
ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
มน : (อัพ. นิบาต) น้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย, หน่อยหนึ่ง.
มนตา : อิต.ใจ
มนสิกโรติ : ก. ทำไว้ในใจ, นึก, ตรึกตรอง
เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
มุนิ : (ปุ.) พระมุนี พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. พระพุทธเจ้า. วิ. สพฺพธมฺเม มุนตีติ มุนิ. มุนฺ ญาเณ, อิ.
กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
โกนาคมน : (ปุ.) พระโกนาคมน์ พระนามของ พระพุทธเจ้า องค์ที่ ๒ในพระเจ้า ๕ พระองค์.
คมนาคมน : นป. การคมนาคม, การไปและการมา