กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
ฉิทฺทคเวสี : ค. ผู้เพ่งโทษคนอื่น, ผู้คอยจับผิดผู้อื่น, ผู้คอยมองหาจุดอ่อนผู้อื่น
ทสฺสนีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งควรมองดู, ซึ่งควรแก่การเห็น, น่าดู, น่าชม, สวย, งาม
ทิฏฺฐินิปาต : ป. การลงความเห็น, การเหลือบมอง
นิลฺโลกน : ค. ผู้เฝ้ามอง, ผู้ระมัดระวัง
นิลฺโลเกติ : ก. เฝ้ามอง, ระมัดระวัง
ปฏิกฺขติ : ก. เพ่งเฉพาะ, มองดู, คาดหมาย
ปฏิโยโลเกติ : ก. มอง, จ้อง, สังเกต
ปวิโลเกติ : ก. เหลียวดู, จ้องดู, มองไปข้างหน้า
ปสฺสติ : ก. เห็น, มองเห็น, ดู
ปาตุ : อ. ข้างหน้า, ปรากฏ, พอมองเห็นได้
ปิยจกฺขุ : นป. การมองกันด้วยสายตาอันน่ารัก, การมองด้วยสายตาแสดงไมตรีจิต
ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
มุขลฺโลกก : ค. ซึ่งมองดูหน้าคน
มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
วิเวเจติ : ก. แยกออก, มองเห็นข้อแตกต่าง, ติ, วิพากษ์
โวโลเกติ : ก. สอบดู, มองดู
สมีรณ : (ปุ.) เฉียงพร้ามอง, เฉียงพร้ามาญ, ผัดคราด, ตะไคร้, แมงลัก.
สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
อตฺถทสฺสี : (วิ.) ผู้มองเห็นซึ่งประโยชน์, ผู้มองเห็นประโยชน์, ฯลฯ.
อตีรทสฺสี : ค. ซึ่งมองไม่เห็นฝั่ง
อทิสฺสมาน : ค. ไม่ปรากฏ, ซึ่งมองไม่เห็น
อนุโลกี : ค. เหลียวดู, มองดู
อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
อปโลเกติ : ก. มองดู; บอกลา, อนุญาต, ประกาศให้ทราบ
อเปขาอเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
อเปขา อเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
อวโลเกติ : ก. มองดู, ตรวจดู อำลา
อินฺทุ : (ปุ.) พระจันทร์, ดวงจันทร์ (ใหญ่กว่า ดาว กล่าวตามที่สายตามองเห็น). วิ. อินฺทติ นกฺขตฺตานํ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ อินฺทุ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อุ. ณุ วา ส. อินฺทุ.
อุทิกฺขติ : ก. มองดู, ตรวจดู; หวัง; ริษยา
อุทิกฺขิตุ : ป. ผู้มองดู
อุทิกฺขิย : กิต. ได้มองดูแล้ว, ได้เห็นแล้ว
อุลฺโลกก : ค. ผู้มองดู, ผู้ตรวจดู
อุลฺโลกน : นป. การมองขึ้น; หน้าต่าง
อุลฺโลเกติ : ก. มองดู, แลดู, เฝ้าดู
โอกาสติ : ก. ปรากฏ, มองเห็นชัด
โอโลเกติ : ก. มองดู, ตรวจดู