มชฺฌิมวย : (ปุ.) วัยมีในท่าม กลาง, วัยกลาง คือระหว่างปฐมวัย กับปัจฉิมวัย, วัยกลางคน คือคนมีอายุตั้งแต่ ๒๖ ถึง ๕๐ ปี.
เกสหตฺถ : ป. ปอยผม, มวยผม
จุฬ : (ปุ.) มวยผม ( ผมที่ขมวดไว้เป็นกลุ่มเป็น กระจุก ), ผมจุก, มกุฎ, มงกุฎ, จอม, ยอด, หัว. จุฬฺ เปรเณ, อ.
จูฬ : ป., จูฬา อิต. จอนผม, จุกผม, มวยผม; ขนแผง, หงอน
จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ชฏาธร : (ปุ.) คนผู้ทรงไว้ซึ่งมวยผม, ชฏิล ( นักพรตพวกหนึ่ง ), ฤษี. ชฏํ ธาเรตีติ ชฏาธโร.
ชฏิย : (วิ.) ผู้มีมวยผม, ผู้มีชฎา. อิย ปัจ.
ชฏิล : (ปุ.) คนผู้มีมวยผม, คนผู้มีผมมุ่นเป็น ชฎา ( มุ่นคือขมวด), ฤษี, ฤาษี, ชฏิล. วิ. ชฏา อสฺส อตฺถีติ ชฏิโล. อถวา, ชฏา อสฺส อตฺถิ โส ชฏิโล. อิล ปัจ.
ชฏี : (ปุ.) ช้องสำหรับใส่ผม ( หนุนผม ), คนมี มวยผม, ฤษี, ฤาษี, ชฎิล.
ปฏิมลฺล : ป. นักมวยปล้ำซึ่งเป็นคู่ต่อสู้
ปเวณิ : อิต. ช้องผม, ผมที่ผูกไว้หรือมวยผม; เชื้อสาย, ประเวณี, ประเพณี ; เสื่อ, เครื่องลาด
ปาส : ป. มวยผม; บ่วง, แร้ว; รูลูกดม
มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
มลฺลยุทฺธก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวยปล้ำ.
มุฏฺฐิมลฺล : ป. นักมวย
โมลิ โมฬิ : (ปุ. อิต.) ผมจุก, มวยผม, เทริด, รัดเกล้า, มงกุฏ, จอม, ยอด.
สิขาพนฺธ : (นปุ.) เครื่องผูกมวยผม.