มา : (อิต.) บริษัท, สิริ, มารดา.
ขลก ขลุงฺก ขฬุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขฬุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
ตรค ตรงฺค : (ปุ.) ม้า (ไปเร็ว). ตุร+คมฺ +กฺวิ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ หลังลงนิคตหิตอาคม.
ตุรค ตุรงฺค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปเร็ว, ม้า. วิ. ตุรํ สีฆํ คจฺฉตีติ ตุรโค ตุรงฺโค วา. ตุรปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ, ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม. ส. ตุรค ตุรงฺค ตุรงฺคม.
ตุรค, ตุรงฺค, ตุรงฺคม : ป. ม้า
วาชี : ป. ม้า
หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
อกฺโขภินี : อิต. สังขยาจำนวนหนึ่งมีศูนย์ ๔๒ ตัว, กองทัพที่มีทหาร ๑๐๙,๓๕๐ คน ม้า ๖๕,๖๑๐ ตัว ช้าง ๒๑,๘๗๐ เชือก และพลรถ ๒๑,๘๗๐ คัน
อวฺยถิ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปเร็ว, ม้า. อาปุพฺโพ, วิคติยํ, ถิ.แปลงอิเป็นยรัสสะอาเป็นอ.
เอกสย : ป. ม้า
สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
อาชานีย : ป. ๑. ม้าอาชาไนย, ม้ามีไหวพริบดี, ม้าพันธุ์ดี, บุรุษผู้ประเสริฐ ;
๒. ได้รับอบรมมาดี, มีกำเนิดดี, รู้ได้เร็ว
อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
กณฺฐก :
ป. ดู กณฺฏก, ชื่อม้าตัวหนึ่งที่เป็นพาหนะของเจ้าชายสิทธัตถะ
กณฺฐ ก : (ปุ.) กัณฐกะ ชื่อม้า ซึ่งพระสิทธัตถะ ทรง เมื่อเสด็จออกผนวช, ละมั่ง, กวาง, เครื่องประดับคอ, สร้อยคอ, ก้าง อุ. มจฺฉกณฺฐก ก้างปลา. เป็น กนฺถก บ้าง.
กณฺฐลตา : อิต. ปลอกคอเสื้อ; บังเหียนม้า
กิโสร : (ปุ.) ลูกม้า วิ. กสตีติ กิโสโร. กสฺ คมเน, โอโร, อสฺสิ. กิญฺจิ สรตีติ กิโสโร. กึปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, อ, พินฺทุโลโป, อสฺ โส (ลบนิคคหิต แปลง อ ที่ ส เป็น โอ).
กุลีนก : (ปุ.) ม้าอาชาไนย, ม้าตัวรู้จักเหตุและ ภาวะมิใช่เหตุ.
กุสา : (อิต.) เชือกที่รัดจมูกม้ากับบังเหียน. กุสฺ สิเลสเน, อ, อิตฺถิยํ อา. ส.กุศ.
ขลก : (ปุ.) ม้ากระจอก (ดขยก) ม้าเขยก ขรฺ ขเย, อ, รสฺส โล, สกตฺเถ โก. หรือ ลง ณฺวุ ปัจ. ไม่ทีฆะ.
ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
ขลุงฺก : ป. ม้ากระจอก, ม้าขาเขยก
ขุรกฺเขป : ป. การถีบของม้า
คามณิย, - ณีย : ป. คนฝึกช้างและม้าเป็นต้น
คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
ฆฏก : (ปุ.) ไม้ตะโก, ไม้มูกใหญ่, ม้ากระจอก ( เขยก ).
โฆฏก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้าวิ่งไม่เรียบ. ฆุฏฺ ปฏิฆาเต, ณวุ.
โฆฏ, โฆฏิก : ป. ม้า, ม้ากระจอก
จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
จตุรงฺคินี : อิต. กองทัพสี่เหล่า คือ เหล่าช้าง, เหล่าม้า, เหล่ารถ, เหล่าราบ
โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
ชวาธิก : (ปุ.) ม้าวิ่งเร็ว, ฯลฯ วิ. ชเวน สพฺเพส มธิโก (อสฺโก) ชวาธิโก.
ชาติสินฺธว : ป. ม้าที่ฝึกดี, ม้าประเสริฐ
ตุรงฺคสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีม้า, ปีมะเมีย.
เธวต : (ปุ.) เธวตะ ชื่อเสียงดนตรีอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนม้าร้อง. อภิฯ วิ. ธีมนฺเต วทียเตติ เธวโต. โต, วณฺณวิกาโร, ฏีกาอภิฯ วิ. ธีมนฺเตหิ คียเตติ เธวโต. วณฺณวิกาโร, มสฺส วตฺตํ.
นงฺคุฏฺฐ : (นปุ.) หาง, หางม้า. วิ. น องฺคตีติ นงฺดุฏฺฐ. นปุพฺโพ, องฺคฺ ดมเน. อภิฯ ลง ฏฺฐปัจ. ฏีกาอภิฯ และรูปฯ ลง ฐ ปัจ. ซ้อน ฎฺ แปลง อ ที่ ค เป็น อุ.
นาสารชฺช : (อิต.) เชือกที่รัดบนจมูกม้ากับ บังเหียน.
ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
พาชี : (ปุ.) ม้า, ม้าตัวผู้.
มงฺคสฺส : (ปุ.) ม้ามงคล, ม้าพระที่นั่ง.
มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
มุขาธาน : (นปุ.) บังเหียน, บังเหียนม้า. วิ. มุขํ อติฏฺฐตีติ มุขาธานํ. มุข+อา+ฐา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ฐา เป็น ธา.
วฬวา : อิต. ม้าตัวเมีย
วาลณฺฑุปก : ป., นป. แปรงทำด้วยหางม้า
สทสฺส : ป. ม้าดี
สผ : (นปุ.) กีบม้า วิ. สํ สุขํ ผรติ อเนนาติ สผํ. สปุพฺโพ.ผรฺ ผรเรณ,โร. ลบที่สุดธาตุและตัวเอง.
สินฺธว : (ปุ.) ม้าตัวผู้, ม้าที่มีในสินธูชนบท. วิ. สินฺธุมฺหิ ภโว สินฺธโว. ณ ปัจ. ม้าสินธพนี้แต่ก่อนจัดเป็นม้าพิเศษ.
สุปตฺต : (ปุ.) สุปัตตะ ชื่อม้า.
เสนงฺค : (นปุ.) ส่วนแห่งกองทัพ, ส่วนแห่งกองทัพนั้น โบราณมี ๕ ส่วน คือ พลช้าง พลม้า พลรถ และพลเดินเท้า. ส. เสนางฺค.
เสรุส : (ปุ.) กระจับ ชื่อเครื่องผูกตีนม้าสำหรับหัดให้เต้น สะบัดตีน. สรฺ จินฺตายํ, อูโส, อสฺเส.