Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยกฺ , then ยก, ยกฺ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยกฺ, 196 found, display 1-50
  1. ยกฺขาธิป : (ปุ.) ยักขาธิป ชื่อท้าวโลกบาลผู้เป็นใหญ่ในทิศเหนือ เป็นอธิบดีของยักษ์มีชื่อเรียก ๒ ชื่อ คือ ท้าวกูเวร ๑ ท้าวเวสสุวัณ ๑. วิ. ยกขานํ อธิโป ยกฺขาธิโป.
  2. เสสเทวยกฺขาทิ : (ปุ.) เทวดาผู้เหลือและอมนุษย์ มียักษ์เป็นต้น.
  3. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  4. กุเวร : (ปุ.) กุเวร ท้าวกุเวร ชื่อท้าวจตุโลกบาล องค์ที่ ๔ ประจำทิศอุดร องค์นี้มี ๔ ชื่อ คือ ยกฺขาธิป เวสฺสวณ กุเวร นรวาหน วิ. กุจฺฉิโต เวโร สรีร มสฺสาติ กุเวโร.
  5. มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
  6. อารนาลอารนาฬ : (นปุ.) น้ำส้ม, น้ำส้มพะอูม(หนังสือเก่าเป็นน้ำส้มประอูม).วิ.อาโรนาโลคนฺโธยสฺสตํอารนาลํอารนาฬํวา.อารานํวาภูมฺยกฺกชานํวาเรสุคติเตนนาเรนชเลนชาตํอารนาลํอารนาฬํวา.
  7. คีเวยฺย, - ยก : นป. เครื่องประดับคอ
  8. จมฺเปยฺย, - ยก : ป. ต้นไม้ตระกูลจำปา
  9. ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
  10. คพฺภเสยฺยก : ค. คัพภเสยยกสัตว์, ผู้เกิดในครรภ์, ผู้เกิดมาเป็นตัว
  11. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  12. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  13. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  14. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  15. เปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ไปยก, ไปยกา, ปิตุ+อยฺยก ลบ ตุ แปลง อิ เป็น เอ.
  16. พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
  17. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  18. สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
  19. อนุสูยก : ค. ดู อนุสุยฺยก
  20. อุตฺตานสย อุตฺตานสยก อุตฺตานเสยฺยก : (ปุ.) เด็กแดง, เด็กยังเล็ก, เด็กดื่มนม. วิ. อุตฺตานํ สยตีติ อุตฺตานสโย อุตฺตานสยโก วา อุตฺตานเสยฺยโก วา. อุตฺตานปุพฺโพ, สี สเย. ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ ก ปัจ. ศัพที่ ๓ เอยฺยก ปัจ.
  21. อุสูยก : ค. ดู อุสุยฺยก
  22. โอหียก : ค. ดู โอหิยฺยก
  23. กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
  24. กมฺมาธิฏฐายก : ป. ผู้ดูแลการงาน, ผู้คุมงาน
  25. กายก : (วิ.) ผู้ซื้อ วิ. กีณาตีติ กายโก. ณฺวุ ปัจ.
  26. กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
  27. กายกสาว : ป. ความหมักหมมแห่งร่างกาย, ความสกปรกที่มีอยู่ในร่างกาย
  28. กุยฺยก : นป. ดอกสารภี, หมากพลับ
  29. โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  30. คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
  31. ชงฺเฆยฺยก : นป. ผ้าห่มชังเฆยยกะ, ผ้าห่มปกคลุมแข้ง
  32. ฌายก : ค. ผู้เพ่ง, ผู้ตรึก, ผู้เข้าสมาธิ; ผู้เผา, ผู้ก่อไฟ
  33. ฐายก : ค. ผู้ยืน, ผู้ดำรงอยู่
  34. ตณฺฑุเลยฺย, - เลยฺยก : ป. กระเพรา, มะพลับ
  35. เถยฺยกรณ : (นปุ.) การลัก, การขโมย.
  36. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  37. นิย, นิยก : ค. ซึ่งเป็นของตนเอง
  38. ปฏิภาเนยฺยก : ค. ดู ปฏิภาณวนฺตุ
  39. ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
  40. ปายก : ค. ผู้ดื่ม
  41. ปาริเลยฺยก : ป. ชื่อของช้าง
  42. ปาหุเณยฺยก : ค. ดู ปาหุเณยฺย
  43. พพฺพชลายก : ค. เครื่องตัดหรือเกี่ยวหญ้ามุงกระต่าย
  44. พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
  45. มคฺคนายก : (ปุ.) ทางมาร่วมกัน.
  46. มนฺตชฺฌายก : ค. ผู้เรียนมนต์
  47. มหยฺยก : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่).
  48. มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
  49. รามเณยฺยก : ค. ซึ่งเป็นที่น่าเพลิดเพลิน
  50. ราหเสยฺยก : ค. โดดเดี่ยว, อยู่ในที่ลับ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-196

(0.0854 sec)