คีเวยฺย, - ยก : นป. เครื่องประดับคอ
จมฺเปยฺย, - ยก : ป. ต้นไม้ตระกูลจำปา
ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
คพฺภเสยฺยก : ค. คัพภเสยยกสัตว์, ผู้เกิดในครรภ์, ผู้เกิดมาเป็นตัว
คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
เปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ไปยก, ไปยกา, ปิตุ+อยฺยก ลบ ตุ แปลง อิ เป็น เอ.
พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
อุตฺตานสย อุตฺตานสยก อุตฺตานเสยฺยก : (ปุ.) เด็กแดง, เด็กยังเล็ก, เด็กดื่มนม. วิ. อุตฺตานํ สยตีติ อุตฺตานสโย อุตฺตานสยโก วา อุตฺตานเสยฺยโก วา. อุตฺตานปุพฺโพ, สี สเย. ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ ก ปัจ. ศัพที่ ๓ เอยฺยก ปัจ.
กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
กมฺมาธิฏฐายก : ป. ผู้ดูแลการงาน, ผู้คุมงาน
กายก : (วิ.) ผู้ซื้อ วิ. กีณาตีติ กายโก. ณฺวุ ปัจ.
กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
กายกสาว : ป. ความหมักหมมแห่งร่างกาย, ความสกปรกที่มีอยู่ในร่างกาย
กุยฺยก : นป. ดอกสารภี, หมากพลับ
โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
ชงฺเฆยฺยก : นป. ผ้าห่มชังเฆยยกะ, ผ้าห่มปกคลุมแข้ง
ฌายก : ค. ผู้เพ่ง, ผู้ตรึก, ผู้เข้าสมาธิ; ผู้เผา, ผู้ก่อไฟ
ฐายก : ค. ผู้ยืน, ผู้ดำรงอยู่
ตณฺฑุเลยฺย, - เลยฺยก : ป. กระเพรา, มะพลับ
เถยฺยกรณ : (นปุ.) การลัก, การขโมย.
นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
นิย, นิยก : ค. ซึ่งเป็นของตนเอง
ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
ปายก : ค. ผู้ดื่ม
ปาริเลยฺยก : ป. ชื่อของช้าง
พพฺพชลายก : ค. เครื่องตัดหรือเกี่ยวหญ้ามุงกระต่าย
พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
มคฺคนายก : (ปุ.) ทางมาร่วมกัน.
มนฺตชฺฌายก : ค. ผู้เรียนมนต์
มหยฺยก : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่).
มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
รามเณยฺยก : ค. ซึ่งเป็นที่น่าเพลิดเพลิน
ราหเสยฺยก : ค. โดดเดี่ยว, อยู่ในที่ลับ
ลายก : ค. ผู้เก็บเกี่ยว
วิธายก : ค. ผู้จัดแจง
สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
เสนายก, เสนานี, เสนาปติ : ป. แม่ทัพ, นายพล
เสยฺยก : (ปุ.) เด็กในผ้าอ้อม (นอนหงาย).
เสเรยฺยก : (ปุ.) ต้นหงอนไก่, ต้นสีเสียด. วิ. สิรี วตฺตติ เยน โส เสรยฺยโก. เณยฺโย, สกตฺเถ โก.