ปฏิคฺคณฺหาติ : ก. รับ, รับเอา, ยอมรับ, ถือปฏิบัติ
ปฏิจฺฉติ : ก. รับ, ยอมรับ
ปฏิสฺสุณาติ : ก. รับคำ, ยอมรับ, ตกลง, ให้สัญญา
ปฏิชานาติ : ก. ปฏิญาณ, ยอมรับ (สารภาพ), ให้สัญญา, รับรอง, ตกลง, แสดงความเห็นชอบ
นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
ตุณฺหี : (วิ.) มีความนิ่ง วิ. ตุโณฺห เอตสฺสาตฺถีติ ตุณฺหี. นิ่ง วิ. โตหตีติ ตุณฺหี. ณิ ปัจ.ไม่ลบ ณฺ แปรไว้หน้า หฺ หฺ+อิ เป็น หิ ทีฑะ เป็น หี. ไทยใช้ ดุษฏี หมายถึง อาการนิ่งที่ แสดงอาการยอมรับ. ส. ตุษณีมฺ.
ตุณฺหีภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความนิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ความเป็น ผู้นิ่ง. วิ. ตุณฺหิสฺส ภาโว ตุณฺหีภาโว. ตุณฺหี ภวนํ วา ตุณฺหีภาโว. ไทยใช้ ดุษณีภาพ หมายถึง อาการนิ่งที่แสดงอาการยอมรับ.
ทหติ : ก. ยอมรับ, ถือ, ตั้งไว้, วาง, กำหนด; เผา, ไหม้
นิรสน : (นปุ.) การกล่าวคืน, การไม่ยอมรับ. นิปุพฺโพ, อสุ เขเป, ยุ, รฺอาคโม. ส. นิรสน.
นิรากติ : (อิต.) การกล่าวคืน, การไม่ยอมรับ. นิ+อา+กรฺธาตุ ติ ปัจ. รฺ อาคม ลบที่สุด ธาตุ.
ปจฺจกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, บอกปัด, ไม่ยอมรับ, บอกคืน
ปจฺจาเทส : ป. การบอกคืน, ไม่ยอมรับ
ปฏิคฺคหิต : กิต. (อันเขา) รับแล้ว, รับไว้แล้ว, ยอมรับแล้ว
ปฏิคฺคาหก : ค., ป. ผู้รับ, ผู้ยอมรับ, ผู้ถือเอา; ปฏิคาหก
ปฏิจฺฉิต : กิต. (อันเขา) รับ, ยอมรับแล้ว
ปฏิสารณ : นป. การให้หวนระลึกถึงความผิด, การให้ยอมรับผิด, การให้แก้ความผิดด้วยการขอคืนดี
สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.