Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยัก , then ยก, ยกฺ, ยัก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยัก, 199 found, display 1-50
  1. ยกฺขาธิป : (ปุ.) ยักขาธิป ชื่อท้าวโลกบาลผู้เป็นใหญ่ในทิศเหนือ เป็นอธิบดีของยักษ์มีชื่อเรียก ๒ ชื่อ คือ ท้าวกูเวร ๑ ท้าวเวสสุวัณ ๑. วิ. ยกขานํ อธิโป ยกฺขาธิโป.
  2. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  3. อุกฺขิปติ : ก. ยกขึ้น, เพิกขึ้น, ขว้างทิ้ง, ยกวัตร, ยักคิ้ว
  4. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  5. ยกฺขินี : (อิต.) ยักษินี, นางยักษ์.
  6. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  7. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  8. คีเวยฺย, - ยก : นป. เครื่องประดับคอ
  9. จมฺเปยฺย, - ยก : ป. ต้นไม้ตระกูลจำปา
  10. ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
  11. คพฺภเสยฺยก : ค. คัพภเสยยกสัตว์, ผู้เกิดในครรภ์, ผู้เกิดมาเป็นตัว
  12. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  13. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  14. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  15. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  16. เปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ไปยก, ไปยกา, ปิตุ+อยฺยก ลบ ตุ แปลง อิ เป็น เอ.
  17. พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
  18. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  19. สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
  20. อนุสูยก : ค. ดู อนุสุยฺยก
  21. อุตฺตานสย อุตฺตานสยก อุตฺตานเสยฺยก : (ปุ.) เด็กแดง, เด็กยังเล็ก, เด็กดื่มนม. วิ. อุตฺตานํ สยตีติ อุตฺตานสโย อุตฺตานสยโก วา อุตฺตานเสยฺยโก วา. อุตฺตานปุพฺโพ, สี สเย. ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ ก ปัจ. ศัพที่ ๓ เอยฺยก ปัจ.
  22. อุสูยก : ค. ดู อุสุยฺยก
  23. โอหียก : ค. ดู โอหิยฺยก
  24. กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
  25. กมฺมาธิฏฐายก : ป. ผู้ดูแลการงาน, ผู้คุมงาน
  26. กายก : (วิ.) ผู้ซื้อ วิ. กีณาตีติ กายโก. ณฺวุ ปัจ.
  27. กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
  28. กายกสาว : ป. ความหมักหมมแห่งร่างกาย, ความสกปรกที่มีอยู่ในร่างกาย
  29. กุยฺยก : นป. ดอกสารภี, หมากพลับ
  30. โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  31. คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
  32. ชงฺเฆยฺยก : นป. ผ้าห่มชังเฆยยกะ, ผ้าห่มปกคลุมแข้ง
  33. ฌายก : ค. ผู้เพ่ง, ผู้ตรึก, ผู้เข้าสมาธิ; ผู้เผา, ผู้ก่อไฟ
  34. ฐายก : ค. ผู้ยืน, ผู้ดำรงอยู่
  35. ตณฺฑุเลยฺย, - เลยฺยก : ป. กระเพรา, มะพลับ
  36. เถยฺยกรณ : (นปุ.) การลัก, การขโมย.
  37. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  38. นิย, นิยก : ค. ซึ่งเป็นของตนเอง
  39. ปฏิภาเนยฺยก : ค. ดู ปฏิภาณวนฺตุ
  40. ปริตฺตายก : ค. ผู้ป้องกัน, ผู้รักษาความปลอดภัย
  41. ปายก : ค. ผู้ดื่ม
  42. ปาริเลยฺยก : ป. ชื่อของช้าง
  43. ปาหุเณยฺยก : ค. ดู ปาหุเณยฺย
  44. พพฺพชลายก : ค. เครื่องตัดหรือเกี่ยวหญ้ามุงกระต่าย
  45. พาราณเสยฺยก : ค. แห่งเมืองพาราณสี, สิ่งที่ทำหรือมาจากเมืองพาราณสี
  46. มคฺคนายก : (ปุ.) ทางมาร่วมกัน.
  47. มนฺตชฺฌายก : ค. ผู้เรียนมนต์
  48. มหยฺยก : (ปุ.) ตา (พ่อของแม่).
  49. มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
  50. รามเณยฺยก : ค. ซึ่งเป็นที่น่าเพลิดเพลิน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-199

(0.0607 sec)