โมห : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ.
มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
ยว : (ปุ.) ข้าวเหนียว. ยุ มิสฺสเน, อ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
สมฺโมส, - โมห : ป. ความหลงลืม
อสมฺโมส, - โมห : ป. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ, ความไม่หลงงมงาย
สงฺฆฏฺฏน : นป. การเสียดสี, การท้าทาย, การยั่ว, การเยาะเย้ย
สติสมฺโมส, -โมห : ป. การหลงลืม
โมหจิตฺต : นป. โมหจิต, นิสัยโง่
มหติ : ก. นับถือ, บูชา
มหตี : ค. ใหญ่
มหปริจาค : (ปุ.) การเสียสละอย่างใหญ่, การบริจาคใหญ่, มหาบริจาค.
มหสาย : (ปุ.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, อัธยาสัยใหญ่, คนใจกว้าง.
โมหจริต : นป. นิสัยโง่
โมหตม : ป. ความมืดคือความหลง
ยวสูก : ป. หนวดข้าวบาเล่ย์, หนวดข้าวโพด
มหิ : (อิต.) ดิน, ที่ดิน, แผ่นดิน, โลก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อิ.
มหี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน, ที่ดิน, โลก, มหี ชื่อแม่น้ำสายที่ ๕ ใน ๕ สายของอินเดียโบราณ. มหฺ ปูชายํ วุฑฺฒิยํ วา. อ, อิตฺถิยํ อี.
เมห : (ปุ.) ป้าง, นิ่ว,โรคป้าง, โรคนิ่ว, มูตร, น้ำมูตร, เยี่ยว, น้ำเยี่ยว, น้ำเบา, ปัสสาวะ. มิหฺ เสจเน, โณ.
ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
ยุว : ป. ชายหนุ่ม
ยุว ยุวาน : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, สาว, เยาว์ (อ่อนวัย รุ่นหนุ่ม รุ่นสาว). ยุ มิสฺสเน, อ, อุวาเทโส.
สโมห : ค. หลงรัก, มีความลุ่มหลง
อกฺขราวยว : (ปุ.) ส่วนแห่งอักษร, ส่วนต่างๆแห่งอักษร.
องฺคาวยว : (ปุ.) ส่วนต่างๆ แห่งร่างกาย, อังคาพยพ องคาพยพ (ส่วนน้อยและส่วนใหญ่ของร่างกาย).
อโมห : (วิ.) ไม่มีความหลง, ไม่โง่เขลา, มีปรีชา
มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
มหุสฺสว : (ปุ.) การฉลอง, การรื่นเริง, การบันเทิง, การสมโภช, มหรสพ, มโหรสพ. มห+อุสฺสว.
อกุสลเจตสิกธมฺม : (ปุ.) เจตสิกธรรมอันเป็นอกุศล, อกุศลเจตสิกธรรม มี ๑๔ ดวง คือ โมหะ อหิริกะ อโนตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ โทสะ อิสสามัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ มิทธะ และ วิจิกิจฉา.
อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
ปฏิพนฺธติ : ก. งด (ไม่ให้) , ลดหย่อน (ของที่ให้)
ปปิตามห : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, วิ. ปิตามหโต ปโร ปปิตามโห. ปิตุโน ปิตามโห วา ปปิตามโห. ปิตุ + ปิตามห ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ.
ปโมหก : (วิ.) ผู้ทำให้หลง. ปโมหปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กวิ.
พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
มคฺคเหตุธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเหตุคือมรรคได้แก่ อโลภะ อโทสะ และ อโมหะ ของผู้พรั่งพร้อมด้วยอริยมรรค.
มฆวนฺตุ : (ปุ.) มฆวัน มฆวา มฆวาน ท้าวมฆวาน มฆวะ เป็นชื่อของพระอินทร์ทุกคำ วิ. มหิตพฺพตฺตา มฆวา. มหฺ ปูชายํ, วนฺตุ, หสฺส โฆ. เป็น มฆวนฺตุ ลง สิปฐมา วิภัติ เอา นฺตุ กับ สิ เป็น อา สำเร็จรูปเป็น มฆวา.
มฆา : (อิต.) มฆา ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๐ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๕ ดาว, ดาว งู ผู้. วิ. มหียเต การยตฺถิเกหีติ มฆา. มหฺ ปูชายํ, อ, หสฺส โฆ, อิตฺถิยํ อา.
มนห : (นปุ.) การบูชา, การเคารพ, การนับถือ, การฉลอง, การสมโภช, มหรสพ (ฉลองสมโภช). มหฺ ปูชายํ, อ, ยุ.
มหนฺต : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก, โต, ผู้ใหญ่, แก่. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อนฺโต.
มหากปฺปิย : (ปุ.) พระมหากัปปิยะ ชื่อพระมหเถระ.
มหานิสา : (อิต.) เวลาเที่ยงคืน, เที่ยงคืน. วิ. มหตี จ สา นิสา จาติ มหานิสา.
มหาปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญามาก วิ. มหตี ปญฺญา ยสฺส โส มหาปญฺโญ.
มหาโมหตโมนทฺธ : (วิ.) อันมืดคือโมหะใหญ่หุ้มห่อแล้ว, อันมืดคือโมหะใหญ่รัดลงแล้ว.
มหิกา : (อิต.) น้ำค้าง, วิ. มหียเต ราคีหีติ มหิกา. มหฺ ปูชายํ, ณฺวุ, อิตฺถิยํ อา.
มหิลา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง. วิ. มหี วิย สุจิมฺปิ อสุจิมฺปิ ลาตีติ มหิลา, มหีปุพฺโพ, ลา อา ทาเน, กฺวิ. มหนฺเตสุ พหูสุปิ รตฺตจิตฺเตสุ อิลตีติ มหิลา. อิลฺ คมเน, อ. มหฺ ปูชายํ วา, อิโร, ลตฺตํ, อา. มหียตีติ มหิลา.
มหิส : (ปุ.) สัตว์ผู้บูชาเจ้าของ, สัตว์ผู้นอนบนแผ่นดิน, ควาย, กระบือ, กาสร. มหฺ ปูชายํ, อิโส. มหีปุพฺโพ วา, สี สเย, อ, รสฺโส. ลงนิคคหิตอาคม เป็น มหึส บ้าง. เป็น มหีส เพราะไม่รัสสะอี ก็มี.
มิทฺธ : (นปุ.) ความท้อแท้, ความเฉื่อยชา, ความเชื่อมซึม, ความหาวนอน, ความง่วง, ความง่วงงุน, ความว่วงโงก. สภาวะคร้านกาย ชื่อว่า มิทธะ. มิทฺ การิยกฺขมเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ. มิหฺ สติวิหนเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ หรือ มิหฺ อสามตฺถิเย.
มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.