Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยาย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยาย, 38 found, display 1-38
  1. อยฺยกา, อยฺยกี : อิต. ย่า, ยาย
  2. กายายตน : นป. สิ่งที่เป็นสื่อรับความรู้สึกจากภายนอกมาสู่กาย, สื่อทางกาย
  3. นฺยาย : ๑. ป. ดู นย๒. ป. ระบบปรัชญาอินเดียสายหนึ่งใน ๖ สาย
  4. ปตฺติยายติ : ก. ประพฤติเพียงดังว่าเชื่อ, เชื่อถือ, ไว้ใจ
  5. ปตฺติยาย : นป. ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
  6. อนุยายติ : ก. ดู อนุยาติ
  7. อนุสยายติ : ก. ๑.ไปหา, ไปเยี่ยม; ๒. ตรวจตรา
  8. อวฺยาย : ค. ไม่พินิจพิเคราะห์, ประมาท
  9. อาทิตฺตปริยายสุตฺต : นป. อาทิตตปริยายสูตร, พระสูตรที่ตรัสเปรียบราคะ, โทสะ, โมหะว่าเป็นของร้อน
  10. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  11. ชปา : (อิต.) กุหลาบ, สะเอ้ง, ชบา. วิ. ชปติ ยาย สา ชปา. ชปฺ วจเน, อ. ชุ ชวเน วา, โป. อุสฺสตฺตํ.
  12. ตชฺชนี : (อิต.) นิ้วชี้, ดัชนี, ดรรชนี. วิ.ตชฺเชติ ยาย สา ตชฺชนี. ตชฺชฺ หึสายํ, ยุ.
  13. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  14. ตรณี : (อิต.) เรือ, สำเถา, กำปั่น, แพ. วิ. ตรนฺติ ยาย สา ตรณี. อี อิต. รูปฯ ๖๖๓. ลง อิ ปัจ. ได้รูปเป็น ตรณิ.
  15. ติโรกรณี : (อิต.) ผ้าม่าน วิ. ติโร กรียติ ปถียติ ยาย สา ติโรกรณี. เวสฯ ๕๐๖ วิ. ติโร กโรนฺติ เอตายาติ ติโรกรณี.
  16. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  17. นนฺธี : (อิต.) เชือกหนัง, สายเชือก, สายรอง เท้า. วิ. นหฺยเต ยาย สา นนฺธี. นหฺ พนฺธเน, โต, อี. แปลง ด เป็น นฺธ ลบ หฺ.
  18. ปมาตุ : (อิต.) มารดาของมารดา, แม่ของแม่, ยาย. มาตุ + มาตุ ลบ ต ศัพท์หน้า รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  19. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  20. มหยฺยิกา : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่).
  21. มหามาตุ : (อิต.) แม่ใหญ่, แม่แก่, ย่า, ยาย.
  22. มาตามหา มาคามหี : (อิต.) ยาย (แม่ของแม่) วิ. มาตุ มาตา มาตามหา มาตามหี วา. อามห ปัจ. อา อี อิต. ย่า (แม่ของพ่อ) วิ. ปิตุโน มาตา ปิตามหา ปิตามหี วา.
  23. มาตามหา, มาตามหี : อิต. ยาย
  24. มาตุ : (อิต.) แม่ วิ. ปุตฺตํ มาเนตีติ มาตา (รักลูก). มานฺ ปูชายํ, ราตุ. ปาตีติ วา มาตา (ดูดดื่ม ซาบซึ้งในลูก). ปา ปาเน, ตุ. แปลง ปา เป็น มา. ศัพท์ มาตุ นี้แปลว่า ยาย ก็ได้. มาตุมาตุ. อภิฯ.
  25. มาตุมาตุ มาตุมหิ : (อิต.) ยาย.
  26. สมฺมา : (อิต.) สลักเอกไถ วิ. สเมนฺติ ยาย สา สมฺมา. สมุ อุปสเม, อ. อิตฺถิยํ อา.
  27. สรภู : (อิต.) สรภู ชื่อแม่น้ำสายใหญ่สายที่ ๔ ใน ๕ สาย, แม่น้ำสรภู. วิ. สรานิ ภวนฺติ ยาย อธิภูตายาติ สรภู. สรตีติ วา สรภู. สรฺ คติยํ, อภู.
  28. อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
  29. กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
  30. โคสขฺย โคสงฺขฺย : (ปุ.) คนเลี้ยงโค, คนเลี้ยง สัตว์, นายโคบาล. วิ. คาโว สํขฺยายตีติ โคสํโขฺย โคสงฺโขฺย วา. สํปุพฺโพ. ขฺยา คณเน,อ.
  31. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  32. ปยฺยกา ปยฺยิกา : (อิต.) ย่าทวด, ยายทวด, ย่า ชวด, ยายชวด. วิ. มาตุยา อยฺยกา อยฺยิกา วา ปยฺยกา ปยฺยิกา. ลบ ตุ รัสสะ อา เป็น อ แปลง ม เป็น ป.
  33. มาตามหยฺยก : (ปุ.) ตาทวด (พ่อของตา พ่อของยาย).
  34. มาตามหยฺยิกา : (อิต.) ยายทวด (แม่ของตา แม่ของยาย).
  35. ยาปฺยยาน : (นปุ.) วอ วิ. ยามเปฺยหิ อธเมหิ ยายเตติ ยาปฺยยานํ.
  36. อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
  37. อากฺขฺยาอาขฺยา : (อิต.) นาม, ชื่อ. วิ.อาขฺยายเตเอตายาติอากฺขฺยาอาขฺยาวา.อาปุพฺโพ, ขฺยา ปกถเน, อ.อภิฯลงกฺวิ ปัจ.ศัพท์ต้นซ้อนกฺ.
  38. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  39. [1-38]

(0.0170 sec)