อนุชานาติ : ก. อนุญาต, ยินยอม
อนุมญฺญติ : ก. อนุมัติ, รับรู้, ตกลง, ยินยอม
อุสฺสาเทติ : ก. ปล่อยไป; ยกขึ้น, ตั้งขึ้น; ไล่ไป, ต้อนไป; ยินดี, ยกย่อง, ยินยอม
ฉนฺทานูมคิ : (อิต.) ความรู้ตามโดยความพอใจ ความยินยอมตามโดย ความพอใจ, ความเห็นชอบตามด้วยความพอใจ.
ปฏิสฺสาวี : ค. ผู้รับคำ, ผู้ยอมฟังคำ, ผู้ยินยอม, ผู้เต็มใจ, ผู้เชื่อฟัง
ปติคิณาติ : ก. ยินยอม, เห็นด้วย, อนุญาต
สมฺมุติ : (อิต.) อันรู้ตาม, การรู้ตาม, โวหาร, ถ้อยคำ การตกลงกัน, การแต่งตั้ง, การร้องเรียก, การยอมรับ, สํปุพฺโพ, มนฺโพธเน, ติ, นฺโลโป, อสฺสุตฺตํ. ไทย สมมต สมมติ สมมุติ ออกเสียงว่า สมมต สมมคติ สมมุด สมมุคติ ใช้เป็นกิริยาในอรรถว่าตกลงกันว่า ยินยอมกันว่า แต่งตั้ง ใช้เป็นวิเสสนะว่าที่ยอมรับตกลงกัน ใช้เป็นสันธานว่า ต่างว่า.
อนุญฺญาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาตแล้ว.อนุญาตไทยใช้ในความหมายว่ายินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
อนุญฺาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาต แล้ว. อนุญาต ไทยใช้ในความหมายว่า ยินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
อนุมติ : อิต. การอนุมัติ, การตกลง, การยินยอม
อนุมัติ : (อิต.) ความรู้ตาม, ความเห็นชอบตาม, ความเห็นดีตาม, ความยอมตาม, ความยินยอม, การอนุญาต.ส. อนุมัติ.
อพฺภนุชานาติ : ก. ยินยอม, เห็นชอบด้วย
อวิวาท : ป. การไม่วิวาท, การไม่โต้แย้ง; การยินยอมตกลง
อสญฺญตฺติ : อิต. การไม่ยินยอม, การไม่ตกลง; การไม่บอกขอ
อิทฺธิพล : (นปุ.) กำลังแห่งความสำเร็จ, กำลัง อันยังผลให้สำเร็จ, อิทธิพล (กำลังอำนาจ). คำอิทธิพล ไทยใช้ทั้งในทางดีและทางเสีย ทางดี เช่น อิทธิพลของดวงดาว ทางเสีย เช่น ใช้อิทธิพลบังคับให้ยินยอม.