Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยิ่งกว่านั้น, ยิ่ง, นั้น, กว่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยิ่งกว่านั้น, 619 found, display 1-50
  1. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  2. อติสย : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, ยิ่งกว่า, นักหนา, หนักนามากมาย, ดียิ่ง, เลิศ, ประเสริฐ, อดิสัย, อดิศัย. ส. อติศย.
  3. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  4. อุตฺตร : (วิ.) ยิ่ง, กว่า, ประเสริฐ, สูงสุด (อุตตโร อุตฺตมสทิโส), แข้น (พ้นจาก แห้งจวนแข็ง หรือหมายถึงแข็งก็ได้), กล้าแข็ง, กวน, คน (กวนของให้กระจาย หรือให้เข้ากัน), คม (ไม่ทื่อ), ต่อไป, ซ้าย, เหนือ, หลัง, บน, เบื้องบน, ข้างบน, พ้น, อื่น.
  5. พลาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, พลาธิการชื่อกรมๆ หนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมจัดหา ที่พัก เสบียงอาหาร ฯลฯ ในกองทัพ ถ้าระดับต่ำกว่ากองทัพ ก็เป็นชื่อของ กอง และเป็นชื่อของผู้ทำหน้าที่ในกรมกองนั้น.
  6. อุตฺตริ, - ตรี : ก. วิ. ส่วนบน, ข้างบน, เหนือยิ่ง, กว่านั้น
  7. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  8. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  9. เทวเทว : (ปุ.) เทพผู้ยิ่งกว่าเทพ. พระเทวเทพ เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. เทวานํ อติเทโว เทโว. เทวาน มธิโก วา เทโว เทวเทโว.
  10. เทวาติเทว : (ปุ.) เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดา, เทวดาล่วงเสียซึ่งเทวดา, เทวดาผู้เป็นจอมแห่งเทวดา, เทวดาและเทวดาผู้ยิ่ง.
  11. นิรุตฺตร : ค. ซึ่งไม่มีผู้อันยิ่งกว่า, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐสุด, ซึ่งไม่น่าตอบ
  12. พหุตรตฺถ : (วิ.) มากยิ่งนัก, มากยิ่งกว่ามาก?
  13. มหาสมณ : (ปุ.) สมณะผู้ใหญ่, สมณะผู้มีคุณธรรมและมีความรู้ความสามารถมาก, พระมหาสมณะเป็นพระนามของพระมหาเถระผู้ได้รับสถาปนาเป็นพระประมุขของสงฆ์ มีพระเกียรติสูงกว่าสมเด็จพระสังฆราช. สมัยใดทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณะ สมัยนั้นจะไม่ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสังฆราช.
  14. มาราธิราช : (ปุ.) มารผู้เป็นใหญ่ยิ่งกว่ามาร, มารผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, พญามาร.
  15. สาธิย สาธิฎฺฐ : (วิ.) ผู้ยิ่งกว่า, ผู้ยิ่งที่สุด, พาฬฺห+อิย, อิฎฐ ปัจ. แปลง พาฬฺห เป็น สาธ รูปฯ ๓๗๘.
  16. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  17. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  18. อติเทว : (ปุ.) เทวดาผู้ยิ่ง, เทวดาผู้ยิ่งกว่าเทวดา.
  19. อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
  20. อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
  21. อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
  22. อธิกตร : ค. มากยิ่งกว่า
  23. อนธิวร : (วิ.) ไม่มีพรอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีพรอื่นจะยิ่งกว่า.
  24. อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
  25. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  26. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  27. โอธิภู : (ปุ.) บ้านที่ยิ่งกว่านิคม.
  28. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  29. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  30. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  31. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  32. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  33. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  34. มหนฺต : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก, โต, ผู้ใหญ่, แก่. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อนฺโต.
  35. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  36. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  37. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  38. อคฺค : (วิ.) มาก, ยอด, ยิ่ง, ดียิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, วิเศษ, เป็นประธาน, ก่อน, แรก, หัวปี (ทีแรก เกิดก่อน), เอก, สูง, สูงสุด.วิ.อชติคจฺฉติเสฏฐภาวนฺติอคฺโค. อชฺ คมเน, อ, ชสฺส โค. คปจฺจโย วา. ส. อคฺร.
  39. อจฺจนฺต : (วิ.) จริงๆ, โดยแท้, โดยส่วนเดียว, ล่วงส่วน, ยิ่ง, ยิ่งนัก, เนื่องกัน, ถาวร, มั่นคง, สุดท้าย, มากมาย, ล่วงละเมิด.
  40. อติ : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง, จัด, แล.
  41. อติมตฺต : (วิ.) เกินประมาณ, ยิ่ง, ล้ำ, นักหนาหนักหนา.วิ.มตฺตโตอติกฺกนฺตํ อติมตฺตํ.
  42. อตีว : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง, ดียิ่ง, ยิ่งนัก, เหลือเกิน, อย่างยิ่ง.
  43. อนุตฺตริย : (วิ.) ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, อนุตฺตร ศัพท์อิยปัจ.สกัด?
  44. อาภุส : (วิ.) กล้า, ยิ่ง, เกิน.
  45. อุคฺค : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, แข็ง แรง, อุชฺ พเล, อ, ชสฺส คฺโค, ส. อุคฺร.
  46. อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
  47. อุทาร : (วิ.) เลิศ, ยิ่ง, เลิศยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, วิเศษ, สำคัญ, สูง. ส. อุทาร.
  48. อุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, มีค่า. ส. อุรุ.
  49. อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
  50. อุฬาร : (วิ.) ใหญ่, ใหญ่โต, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, ประเสริฐ, เลิศ, เลิศล้น, กว้างขวาง, แพร่หลาย, ไพเราะ, หยาบ (ไม่ละเอียด), โอฬาร. วิ. อุฬนํ อุคฺคมนํ วิปุลคมนํ อุฬารํ. อุลฺ อุคฺคมเน, อาโร, ลสฺส ฬตฺตํ. ส. อุทาร.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-619

(0.0269 sec)