Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยึดถือ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยึดถือ, 31 found, display 1-31
  1. อาทิยติ : ก. ๑. ถือเอา, รับเอา, ยึดถือ; ๒. แตก, หัก
  2. คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
  3. นิคฺคหณ : ค. อันปราศจากการยึดถือ, ซึ่งไม่ยึดถือ
  4. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  5. ปฏิสารี : ค. ผู้แล่นเข้าไปหา, ผู้ถือ, ผู้ยึดถือ (โคตร); ผู้รังเกียจกัน (ด้วยโคตร)
  6. ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
  7. ปยคฺคาหี : ค. ผู้ยึดติด, ผู้ยึดถือ, ในสิ่งอันน่ารัก น่าพอใจ
  8. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  9. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  10. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  11. ปริคฺคหิต : กิต. ยึดถือแล้ว, กำหนดแล้ว, สำรวจแล้ว, ค้นหาแล้ว
  12. ปริคณฺหณ : นป. การยึดถือ, การสอบสวน, ความเข้าใจ, ความกำหนด
  13. ปริคณฺหาติ : ก. ยึดถือ, กำหนด, สำรวจ, ค้นหา
  14. มมตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  15. มมตฺตา : (อิต.) ความเป็นแห่งของเรา, ความยึดถือว่าของเรา. ตฺต, ตา ปัจ.
  16. มมายิต : (วิ.) อัน..ถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา, ยึดถือว่าเป็นของเรา, ยึดถือว่าของเรา. มม+อา+อยฺ ธาตุ ต ปัจ. อิ อาคม.
  17. มิจฺฉาคหณ : นป. การยึดถือผิด
  18. สกฺกายทิฏฺฐิ : อิต. ความยึดถือว่ากายของตน
  19. สนฺทิฏฐปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้มีความยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้ยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นแต่ความเห็นของตน, ผู้ยึดถือแต่ความเห็นของตน, ผู้ดื้อรั้น.
  20. อนุธาเรติ : ก. ทรงไว้, ยึดถือไว้
  21. อปรนฺตกปฺปิก : ค. ผู้ยึดถือในการกำหนดที่สุดเบื้องปลาย (ในทิฏฐิ ๖๒)
  22. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  23. อวิราชยต : ค. ไม่คลายความกำหนัดยินดี, ไม่คลายยึดถือ
  24. อสญฺญีวาท : ค. ผู้ยึดถือทิฐิว่าหลังจากตายแล้ว อัตตาไม่มีสัญญา
  25. อสนฺทิฏฺฐิปรมาสี : ค. ผู้ไม่ลูบคลำทิฐิของตน, ผู้ไม่ยึดถือความเห็นของตน
  26. อาทาน : (นปุ.) การถือ, การถือเอา, การฉวยเอาการคว้าเอา, การยึด, การยึดถือ, ความถือ, ฯลฯ.อาบทหน้าทาธาตุในความถือ ยึดถือยุปัจ.แปลว่าการขอก็มีอาทานํยาจนเมว.ส.อาทาน.
  27. อาทานคาหี : (วิ.) ผู้ถือเอาด้วยความยึดถือ, ผู้ถืออย่างแน่นแฟ้น.
  28. อาทิยนตา : อิต. ความยึดถือ, การถือเอา
  29. อุปาทานกฺขนฺธ : ป. ความยึดถือขันธ์
  30. อุปาทานขนฺธ : (ปุ.) ขันธ์อัน สัตว์เข้าไปยึดถือไว้, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปถือ มั่น, ขันธ์ที่สัตว์เข้าไปยึดถือไว้.
  31. อุปาทานปจฺจย : ป. ปัจจัยคืออุปาทาน, เหตุอันเกิดจากความยึดถือ
  32. [1-31]

(0.0054 sec)