ยม : (ปุ.) ท้าวยม, พระยม, พระยายม, พญายม ยมราช ชื่อ เทพเจ้าผู้เป็นใหญ่ประจำโลกของสัตว์นรก. ปชาสํยมนดต ยโม.
ธมณฺณ : (ปุ.) คนผู้ยืม, ลูกหนี้. อิณ+ธร ลบ ร แปลง อิ เป็น อ กลับบท มฺ อาคม ซ้อน ณฺ หรือแปลง ร เป็น ม ไม่ต้องลง มฺ อาคม.
ยาจิตก : นป. ของที่ยืมมา
อิณ : (นปุ.) เงินค้าง, การให้ยืม, หนี้. วิ. เอติ วุฑฺฒึ คจฺฉตีติ อิณํ. อิ คติยํ, ยุ, นสฺส ณตฺตํ. (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ) อถวา, อิณุ คติยํ, อ. ส. ฤณ.
อิณสามิก : ป. เจ้าหนี้, ผู้ให้ยืม
อิณาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งหนี้, การกู้หนี้, การกู้หนี้ยืมสิน. วิ. อิณํ อาทานํ อิณาทานํ. ทุ. ตัป.
อิณายิก : (ปุ.) บุคคลผู้ยืม, ลูกหนี้ (คนมีหนี้). วิ. อิณํ คณฺหาตีติ อิณายิโก. อายิก ปัจ. อิณํ อายติ ปวตฺเตีติ วา อิณายิโก. ณวุ ปัจ.
อุตฺตมณ อุตฺตมิณ : (ปุ.) เจ้าหนี้ (ผู้ให้ยืม). วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมโณ อุตฺตมิโณ วา. เปลี่ยนศัพท์ คือเอา อุตฺตม ไว้หน้า ศัพท์ หน้าลบ อิ ที่ อิณ ศัพท์หลังไม่ลบ.
อุทฺธาร : (ปุ.) การยกขึ้น, การเดาะ (เกี่ยวกับ กฐิน), การให้ยืม, เงินค้าง, หนี้. อุปุพฺโพ, ธรฺ คหเณ, โณ. หรฺ หรเณ วา, หสฺส โธ. ส. อุทฺธาร. อุทฺธุมายิ
ยม ยมก ยมล : (นปุ.) คู่, แฝด. ยมุ ธาตุ อ, ณฺวุ และ อล ปัจ.
ยมปุริส : ป. ผู้ลงโทษสัตว์นรก
อุปยม : (ปุ.) งานบ่าวสาว. อุปปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม กีฬายํ วา, อ. ส. อุปยม อุปยาม.
ขตฺติยมหาสาล : ป. กษัตริย์มหาศาล, กษัตริย์ที่มีพระราชสมบัติมาก
ปฏิสยมติ : ก. สำรวม, ระวัง, ควบคุม (ตนเอง) , เหนี่ยวรั้งจิตใจ
สยม : ป. การสำรวม
สยมติ : ก. สำรวม, บังคับใจตน
อนิสฺสยมหึภาค : (ปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อา-ศัยมิได้ (เพราะไม่มีวัตถุ มีต้นไม้ ภูเขา และเมืองเป็นต้น).
อุยฺยมติ : ก. พยายาม, เพียร
กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
ขตฺติมหาสาล : (ปุ.) กษัตริย์ผู้มหาศาล วิ. มหนฺโต ธนสาโร เยสํ เต มหาสาลา. แปลง ร เป็น ล. ขตฺติโย จ โส มหาสาโล จาติ ขตฺติยมหาสาโล.
คมิกวตฺต : นป. วัตรของผู้จะเดินทาง, การเตรียมเพื่อจะเดินทาง
ทณฺฑปาณิ : (ปุ.) พระยม.
ทมฺม. : (วิ.) อัน...ย่อยยมทรมานได้, ฯลฯ. วิ. ทมฺเมเตติ ทมฺโม. อัน...ทรมานได้, ฯลฯ.วิ. ทมิตพฺโพติ. ทมฺโม. ผู้ควรแก่การทรมาน, ฯลฯ. วิ. ทมนารโห ทมฺโม. ทมฺ ทมเน, โณฺย. แปลง ณฺย กับที่สุดธาตุเป็น มฺม หรือแปลง มฺย เป็น มฺม รูปฯ ๕๓๙.
เทวทูต : (ปุ.) ทูตของเทวดา, ทูตสวรรค์, ทูต อันเทวดาแสร้งนิมิต, เทวทูต. เทวทูต ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ. เทวทูต ๕ ที่พญายมถามคือ เด็กทารก คนแก่ คนเจ็บ คนต้องโทษ และคนตาย.
ธม : (ปุ.) คนก่อไฟ, พระจันทร์, พระยม, พระกฤษณะ, พระพรหม. ธมฺ สทฺทคติ- สํโยเคสุ, อ. ส. ธม.
ปริกติ : อิต. การจัดแจง, การตระเตรียม, การเตรียมพร้อม
ภรณี : (อิต.) ภรณี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒ มี ๓ ดวง, ดาวก้อนเส้า. วิ. ยมสทิส-ตฺตา สพฺพตฺร ภรตีติ ภรณี. ภรฺ โปสเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี.
มจฺจราช : (ปุ.) พระเจ้าแห่งความตาย, พระราชาคือมัจจุ, พญามัจจุ, พญา-มัจจุราช, พระยม, พญายม, ความตาย.
ยมทคฺคิ : (ปุ.) ยมทัคคิ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ ๑ ใน ๑๑ ท่าน.
ยมทูต : (ปุ.) ทูตของพระยม.
ยมราช : (ปุ.) ยมราช, พญายม.
ยมโลก : (ปุ.) โลกของพระยม, โลกของคนตาย, นรก.
เวสายี : ป. ชื่อพญายม
สยมฺภู : (ปุ.) พระผู้เป็นเอง ( เป็นด้วยพระองค์เอง), พระสยัมภู พระสยมภู (สะหยมภู) พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. สยํ อภวีติ สยมฺภู. อภิฯ. สย เมว สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภวตีติสยมฺภู. ฎีกาอภิฯ สยํปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, กฺวิ.
อกฺกตนย : (ปุ.) พระยม.
อาลมฺภร, อาฬมฺภร : ป. เปิงมาง; การเตรียมรบ
เอกปทิก เอกปที : (ปุ.) ทางมีปกติเดินได้คน เดียว, ทางแคบ, ทางน้อย. วิ. คจฺฉตํ เอโก อสหาโย ปาโท ยสฺสํ น นิสินฺนสฺเสว ยมโกติ เอกปที. อี ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ อี ก สกัด.