ปญฺหา : อิต. คำถาม
ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
ปฏิจฺฉาเทติ : ก. ปกปิด, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, อำพราง, นุ่งห่ม, พัน, ปิด, รักษา (แผล); กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, อำพราง (ปัญหา)
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
ยุตติ : (วิ.) ประกอบ, ฯลฯ, ตกลง, จบ, เลิก, ยุกติ, ยุตติ, ยุติ. ยุกติ ยุตติ ยุติ ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่า จบ ตกลง เลิก ลงเอย.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
กุมารีปญฺห : ป. การอัญเชิญเทวดาให้เข้าทรงหญิงสาวแล้วถามปัญหา, การให้หญิงสาวเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงหญิงสาว
จุติ : (อิต.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. วิ. จวนํ จุติ. จุ จวเน, ติ. จุติ ไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย. ส. จฺยุติ.
เทวปญฺห : นป. การอัญเชิญเทวดาเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงเจ้า
เทวปญฺห, - หา : ป., อิต. ปัญหาของเทวดา, ปัญหาเทวดา
ธมฺมมาธมฺม : (ปุ.) ธรรมและสภาวะมิใช่ธรรม, ความควรและความไม่ควร, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม.
ปญฺหาวฺยากรณ : นป. การตอบปัญหา
ปญฺหาวิสชฺชน : นป. การแก้ปัญหา
ปฏิจิกฺขติ : ก. กล่าวตอบ, แก้ปัญหา
ปฏิวิเสส : ป. อาการอันพิเศษยิ่งขึ้น, อาการที่แยกแยะให้เห็นเฉพาะแต่ละอย่างๆ (เกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหา)
ปณฺฑา : อิต. ปัญหา, ความรู้
พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
สฺวากฺขาต : (วิ.) (พระธรรม, พระธรรมวินัย) อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว. ศัพท์นี้ เคยใช้เป็น สฺวาขาต. บ้าง สฺวากฺขาต บ้าง ปัจจุบันนี้ยุติเป็น สฺวากฺขาต. สุ+อกฺขาต.
อปุจฺฉ : ค. ไม่ใช่ปัญหา, ไม่น่าถาม
อสมฺปายนฺต : อิต. ไม่อาจแก้หรืออธิบายได้, ไม่อาจตอบปัญหาได้
อาทาสปญฺห : ป., นป. การเชิญเทวดาให้ปรากฏในกระจกแล้วถามปัญหา, การเล่นผีถ้วยแก้ว
เอกสวยากรณ : นป. การตอบปัญหาแง่เดียว
ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
โลกายต : นป. โลกายตศาสตร์
ยโต : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุใด, แต่เหตุใด, เพราะเหตุใด.
สยต : กิต. สำรวมแล้ว
โอลิ (ลี) ยติ : ก. ติด, ยึด; เฉื่อยชา, ล้าหลัง
นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
ปยต : (วิ.) ชำระ, ล้าง, สะอาด. ปปุพฺโพ, ยตฺ ปยตเน, อ.
ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
ยตฺต ยตฺร : (นปุ.) ความเพียร. ยตฺ ปยตเน, ต, ตฺรณฺ ปัจ.
ยาตนา : (อิต.) การทรมาน, ความทรมาน, ความเจ็บป่วย. ยตฺ นิยฺยาตเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.