ปยุต : (นปุ.) ล้าน ( มาตรานับ ).
ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
อยุต : นป. หมื่นหนึ่ง
อายุต : ค. ประกอบ, กระทำ, ผูก, ยึด, ติด; ชนะ
อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
จิตฺตวิปฺปยุตฺต : ค. วิปยุตจากจิต, ซึ่งไม่ประกอบด้วยจิต
ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
นิพฺพานปฏิสญฺญุต : ค. อันปฏิสังยุตด้วยนิพพาน, ซึ่งพาดพิงถึงนิพพาน, ซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยนิพพาน
มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
สาวณ สาวน สาวณมาส สาวนมาส : (ปุ.) เดือนเก้า, สิงหาคม, เดือนสิงหาคม. วิ. สวเณน นกฺขตฺเตน ยุตโต มาโส สาวโณ.
หริตายุตฺต : (ปุ.) หอม, หัวหอม. เป็น หริตายุต ก็มี.
อรหตฺตมคฺคญาณาสิ : (ปุ.) ดาบคือญาณอันสัม-ปยุตแล้วด้วยมรรคอันเป็นไปในพระอรหัต.
ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
โลกายต : นป. โลกายตศาสตร์
ยโต : (อัพ. นิบาต) เพราะ, ด้วยเหตุใด, แต่เหตุใด, เพราะเหตุใด.
สยต : กิต. สำรวมแล้ว
โอลิ (ลี) ยติ : ก. ติด, ยึด; เฉื่อยชา, ล้าหลัง
นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
ปยต : (วิ.) ชำระ, ล้าง, สะอาด. ปปุพฺโพ, ยตฺ ปยตเน, อ.
ปยตน : (นปุ.) ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ปปุพฺโพ, ยตฺ ปฏิยตเน, ยุ.
ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
ยตฺต ยตฺร : (นปุ.) ความเพียร. ยตฺ ปยตเน, ต, ตฺรณฺ ปัจ.
ยาตนา : (อิต.) การทรมาน, ความทรมาน, ความเจ็บป่วย. ยตฺ นิยฺยาตเน, ยุ, อิตฺถิยํ อา.