Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยูง , then ยง, ยุง, ยูง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยูง, 86 found, display 1-50
  1. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  2. กลาปี : (ปุ.) นกยูง วิ. กลาโป ปิญฺชํ อสฺส อตฺถี ติ กลาปี. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. กลาปินฺ.
  3. กุลาปี : (ปุ.) นกยูง. กลาปีศัพท์แปลง อ ที่ ก เป็น อุ.
  4. เกกา : (อิต.) เสียงร้องของนกยูง วิ. กายติ กายนํ วา กา, เก มยูเร ปวตฺตา กา เกกา. เป็น อุลตตสมาส. ส. เกกา.
  5. เกกี : (ปุ.) นกยูง. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. เกกินฺ.
  6. ฆนปาสณฺฑ : ป. นกยูง
  7. จนฺทก : (ปุ.) แวว, แววหางนกยูง. จทิธาตุ ณฺวุ ปัจ.
  8. จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
  9. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  10. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  11. นีลคีว : ป. นกยูง
  12. ปิจฺฉ : นป. ขนหาง (โดยเฉพาะหมายถึงขนหางนกยูง) ; ยางไม้, กาว
  13. เปกขุณ : นป. ขนหางนกยูง
  14. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  15. พริหี : ป. นกยูง
  16. พิริหิ : (ปุ.) นกยูง วิ. วรหํ สิขณฺโฑ, ตํโยคา พริหิ.
  17. มยูร : (ปุ.) นกยูง, วิ. มหิยํ รวตีติ มยูโร. มหิ+อูร ปัจ. แปลง ห เป็น ย. หรือตั้ง มยฺ คติยํ, อูโร. เป็น มยุร บ้าง.
  18. มุร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, อ.
  19. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  20. โมรคุ : (นปุ.) หญ้าหางนกยูง.
  21. โมรปิญฺช : นป.แววหางนกยูง
  22. สิกฺณฺฑ : ป. หางนกยูง, หงอนนกยูง
  23. สิกฺณฺฑี : ป. นกยูง
  24. สิขณฺฑ : (ปุ.) หาง, หางนกยูง, จุก, ผมจุก, หงอน, แหยม ชื่อปอยผมที่เอาไว้เป็นกระจุกบนหัวนอกจากจุก.
  25. สิขณฺฑี : (ปุ.) นกยูง วิ. สิขณฺโฑ อสฺส อตฺถีติ สิขณฺฑี. ณี ปัจ.
  26. มกส : (ปุ.) ริ้น, ยุง, บุ้ง, ร่าน. วิ. มกติ โลหิตํ ปิวตีติ มกโส. มกฺ ปาเน, อโส, ส. มศก.
  27. มสก : (ปุ.) ริ้น, ยุง, บุ้ง, ร่าน. มสฺ หึสาสทฺเสสุ, อ. ก สกัด หรือลง ณฺวุ ไม่ทีฆะ.
  28. สูจิมุข : (ปุ.) สัตว์มีปากเพียงดังเข็ม, สัตว์มีปากเหมือนเข็ม, สัตว์มีปากเช่นกับเข็ม, ยุง, ริ้น, เหลือบ.
  29. กฏุกีฏ : ป. ยุง
  30. เชฏฺฐ เชฏฺฐก : (วิ.) เจริญที่สุด, สูงสุด, เจริญ ยิ่ง, ประเสริฐยิ่ง. วุฑฺฒศัพท์อิฏฺฐ ปัจ แปลง วุฑฺฒ เป็น ช เอา อิ ที่ ปัจ. เป็น เอ รูปฯ ๓๗๕. ส. ชฺยษฺฐ.
  31. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  32. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  33. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  34. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  35. นามาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออันบุคคลทรงไว้ ยิ่ง, พระนาม, พระนามาภิไธย.
  36. นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
  37. ปร : (วิ.) สูง, สูงสุด, ยิ่ง, เป็นใหญ่, เป็น ประธาน. วิ. ปกฏฺฐ ราตีติ ปรํ. ปกฏฺฐปุพฺ โพ, รา อาทาเน, โณ. โน้น, อื่น, นอก ออกไป, ต่อไป. ปรฺ คติยํ, อ.
  38. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  39. พาฬฺห : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นัก, หนักหนา. วิ. พหุลาตีติ พาฬฺหํ. พหุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, อุโลโป, ลสฺส ฬตฺตํ, วณฺณวิปริยาโย. พหฺวุทฺธิยํ วา, อโฬ. แปร ฬ ไว้หน้า ห ทีฆะ.
  40. ภิญฺโญ : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, โดยยิ่ง, ยิ่งขึ้นไป.
  41. ภิยฺโย : (อัพ. นิบาต) ยิ่ง, ยิ่งขึ้น, ยิ่งขึ้นไป, โดยยิ่ง, อีก, เกิน, มาก, เศษ (สิ่งที่เกิน), นัก, หนักเข้า. รูปฯ ว่าลงใน ปฐมา ทุติยา ด้วย.
  42. ภุส : (วิ.) กล้า, มีกำลัง, ล้ำ (ยิ่ง), ดี, ดียิ่ง, ใหญ่ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, เลิศ, ประเสริฐ. ภสฺ วิปุลเน, อ, อสฺสุ. เป็น ภูส. บ้าง.
  43. มกสกุฏิ มกสกุฏิกา : (อิต.) มุ้งกันยุง, มุ้ง.
  44. มกสวีชนี : (อิต.) ไม้ปัดยุง, แซ่ไล่ยุง.
  45. มกสาวรณ : (นปุ.) มุ้งกันยุง, มุ้ง.
  46. มห : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อ. หรือ มหนฺต ศัพท์แปลงเป็น มห.
  47. มหคฺคตารมฺมณ : (วิ.) มีอารมณ์เป็นรูปาวจร และ อรูปาวจร. มห (ยิ่ง)+คต+อารมฺมณ.
  48. มหนฺต : (วิ.) ใหญ่, ยิ่ง, มาก, นัก, โต, ผู้ใหญ่, แก่. มหฺ วุฑฺฒิยํ, อนฺโต.
  49. มายูร : ป. ฝูงนกยง
  50. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  51. [1-50] | 51-86

(0.0237 sec)