Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ยู , then ยุ, ยู .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ยู, 791 found, display 1-50
  1. อายูหนีอายูหินี : (อิต.) การให้ชีวิตเสื่อมไป, อายุปุพฺโพ, หาปริหานิเย, ยุ, อิตฺถิยํอีอินีวา.
  2. อายูหน : (นปุ.) ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน.อูหฺวิตกฺเก, ยุ.
  3. กมฺมายูหน : นป. กองแห่งกรรม
  4. กายูรี : อิต. ผู้มีปกติสวมกำไล
  5. เกยูรี : ค. ผู้ใส่กำไลแขน
  6. ยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
  7. วิยูหน : นป. การถอนออก, การกระจายไป
  8. อนายูทนฺต : กิต. ไม่พยายาม, ไม่ขวนขวาย
  9. อนายูหน : นป. ความไม่พยายาม, ความไม่ขวนขวาย
  10. อปพฺยูหาเปติ : ก. ให้นำออก, ให้ขจัดออก, ให้เช็ดออก
  11. อภยูปรต : (ปุ.) พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่เข้าไปย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่ย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้มีความกลัวอันสิ้นแล้ว.ดูภยูดปรตด้วย.
  12. อริยูปวาท : ป. การว่าร้ายพระอริยเจ้า
  13. อายูหก : ค. ผู้มีความเพียรพยายาม, ผู้มีความบากบั่น
  14. อายูหา : อิต. อายุ, ชีวิต, อายุกาล
  15. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  16. กานน : (นปุ.) ดง, ป่า, หมู่ไม้. วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาน มสฺสาติ กานนํ. ฐิ ตมชฺฌนฺติก- สมเย กวติ สทฺทํ กโรติติ วา กานนํ. โกกิลม ยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตถาติ วา กานนํ. กุ สทฺเท, ยุ. ส. กานน.
  17. ยู : (ปุ. นปุ.) ฝูง, โขลง, หมู่, หมู่แห่งสัตว์ดิรัจฉานผู้มีชาติเสมอกัน. วิ. สชาติยติรจฺฉานานํ คโณ ยูโถ. ยุ มิสฺสเน, โถ.
  18. พฺยู : (ปุ.) ถนนเดินได้ไม่ตลอด, ถนนตัน, ทางตัน, ตรอกตัน. วิ. พฺยูเหติ ชเน อญฺญตฺร คนฺตุ มปฺปทาน-วเสนาติ พฺยูโห.
  19. ยู : (ปุ.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง. วิ. มยตีติ มยูโข. มยฺ คติยํ, โข, อูอาคโม. รัสสะเป็น มยุข บ้าง.
  20. ยุวน : (นปุ.) ความรุ่น, ความหนุ่ม, ความสาว, ความเป็นหนุ่มสาว, เยาวน์. ยุ มิสฺสเน, ยุ.
  21. ยุคนฺต : (ปุ.) ความสุดสิ้นกัลป์, ขัยกัลป์. วิ. ยุคาน มนฺเต ชาโต ยุคนฺโต.
  22. ยุคนฺธร : (ปุ.) ยุคนธร, ยุคันธร, ยุคุนธร ชื่อภูเขาซึ่งเป็นบริวารของเขาพระสุเมรุ.
  23. ยุคนงฺคลาทิ : (วิ.) (อุปกรณ) มีแอกและไถ เป็นต้น.
  24. ยุคนฺตวาต : (ปุ.) ลมประลัยกัลป์.
  25. ยุคนทฺธ : ๑. นป. เชือกผูกแอก; ๒. ค. ซึ่งผูกติดกับแอก
  26. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  27. ยุวนฺตุ : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, ฯลฯ.
  28. กกณ กงฺกณ : (นปุ.) กังกณะ ชื่อเครื่อง ประดับแขนชนิดหนึ่ง, กำไลมือ, กา สทฺ เท, กณปจฺจโย, กณฺ สทฺเท วา, อ, ทฺวิตฺตํ; กณิ คติยํ วา, ยุ, นิคฺคหิตาคโม จ. ส. กงฺกณ.
  29. กญฺจ กญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ทิตฺติยํ, อ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม. ส. กาญฺจน.
  30. กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี : (อิต.) ข่า วิ. กฏุก รสา หุตฺวา รุหตีติ กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี วา, กฏุกปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี.
  31. กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
  32. กตฺถนา : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยก ย่อง, การพรรณา, การอวด, ความชม, ฯลฯ. กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  33. กาญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม, ทีโฆ จ. ส. กาญฺจน.
  34. กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น ท
  35. เกฬน : (นปุ.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
  36. เกฬนา เกฬิ : (อิต.) การเล่น, การรื่นเริง. กีฬฺ วิหาเร, ยุ, ณิ.
  37. ขสนา : (อิต.) คำด่า, คำว่า, ด่า, บริภาษ. ขุสิ อกฺโกเส, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  38. ขียนก : (นปุ.) การบ่น, การว่า, การบ่นว่า, การติเตียน ขี หึสายํ, ยุ, สกตฺเถ โก.
  39. คคน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไปแห่งนก, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า. วิ. คจฺฉานฺเตตฺถ วิหงฺคมาทโยติ คคนํ. คมฺ คติยํ, ยุ, มสฺส โค. เมฆ พระอาทิตย์? เป็น คคณ บ้าง.
  40. โคณ : (ปุ.) โค, โคผู้. วิ. คจฺฉตีติ โคโณ. คมฺ คติยํ, ยุ, มฺโลโป, อสฺโส แปลง น ซึ่งแปลง จาก ยุ เป็น ณ.
  41. โคณก โคนก : (ปุ.) ผ้าโกเชาว์ใหญ่ชิ้นยาว, อาสนะพิเศษประกอบด้วยขนยาว, ผ้า สักหลาดขนยาว, พรม, กุ สทฺเท, ยุ, สกตฺเถ โก, อุสฺโสตฺตํ. ฎีกาอภิฯ ทีเฆน โลเมน ยุตฺโต อาสนปฺปเภโท โคนโก นาม.
  42. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  43. ฉาทน : (นปุ.) การมุง, การปิด, การปกปิด, การกำบัง, การกั้น, การซ่อน, วัตถุเป็น เครื่องปกคุม, วัตถุเป็นเครื่องมุง, ฯลฯ, หนัง, ผ้า ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ยุ, ทีโฆ จ. ส. ฉาทน.
  44. ชมฺภนา : (อิต.) การเหยียด (ทำสิ่งที่งอให้ตรง), การเหยียดกาย. ชภิ คตฺตวิมาเน, ยุ, นิคคหิตาคโม.
  45. ชวนิกา : (อิต.) ผ้าม่าน. ชุ คติยํ พนฺธเน วา, ยุ, อนกาเทโส (แปลง ยุ เป็น อนก), อิอาคโม.
  46. ฐปน : (นปุ.)การตั้งไว้, การเหลือไว้. ถปฺ ถปเน, ยุ, ถสฺส โฐ.
  47. ตุสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความอยาก, ความกระหายน้ำ, ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ, ทฺวิตฺตํ, อสฺส อุตฺตํ.
  48. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  49. ทุหณ : (ปุ.) ความเต็ม,ความให้เต็ม,การรีด,การรีดนม.ทุหฺปปูรเณ,ยุ,โณ.ส.โทห.
  50. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-791

(0.0590 sec)