ตปติ : ก. เผา, ย่าง, ทรมาน, ส่องแสง
ภชฺชติ : ก. ปิ้ง, ย่าง
กายตปน : นป. การยังกายให้เร่าร้อน, การย่างตน
คพฺภาวกฺกนฺติ : (อิต.) การย่างลงสู่ครรภ์, การหยั่งลงสู่ครรภ์, การก้าวลงสู่ครรภ์.
โคตฺรภูญาณ : นป. ความรู้ที่กำลังพ้นเขตของปุถุชนและกำลังย่างขึ้นสู่เขตพระอริยเจ้า
โชติมาลิกา : อิต. การทรมานร่างกายอย่างหนึ่งคือการย่างตน
ตาปส : (ปุ.) บรรพชิตผู้มีธรรมเครื่องยัง กิเลสให้เร่าร้อน ( ย่างกิเลสให้แห้ง ). ตปฺ สนฺตาเป, โณ. ลง สฺ และ อ อาคม หรือ ลง สกฺ ปัจ. ทีฆะ ลบ กฺ ส. ตาปส.
ปทวาร : (ปุ.) วาระแห่งเท้า, ระยะแห่งเท้า, ระยะก้าวเท้า, ชั่วก้าวเท้า ( ก้าวย่าง ).
ปทวิกฺเขปน : (นปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
ปทวิเขป ปทวิกฺเขป : (ปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
ปทวีติหาร : ป. การย่างก้าว, การก้าว
ปทสทฺท : ป. เสียงเท้า, เสียงย่างเท้า
ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
ปิทลก : นป. ไม้เท้าเล็กๆ , ไม้คีบสำหรับย่างเนื้อ
มาลุวา : (อิต.) เครือเถาย่านทราย, เครือย่านทราย, เถาย่านทราย, เถาย่างทราย, เถากระพังโหม.
สินฺทุวาร : (ปุ.) ย่างทราย, ย่านทราย ชื่อเถาวัลย์ป่า ใบใหญ่. วิ. สินฺทุ ํ คพฺภพนฺธนํ วาเรตีติ สินฺทุวาโร.
หาวกรณ : (วิ.) ย่างเยื้อง, เยื้องกราย, กรายกร, ฟ้อนรำ.
องฺคารมส : นป. เนื้อย่างไฟ
อตฺถุ : (อัพ. นิบาต) จงยกไว้, ก็ตามแต่ ก็ตามที(ตอบอย่างไมม่พอใจ), โดยแท้.
อวกฺกมฺม : กิต. ก้าวลงแล้ว, ย่างไปแล้ว, หลีกไปแล้ว
อาตาปน : นป. ความเพียร, เครื่องเผากิเลสให้เร่าร้อน, การทรมานตัวเพื่อย่างกิเลส
อุกฺกมติ : ก. ก้าวไป, ย่างไป, ดำเนินไป
โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
โอกฺกมน : (นปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
นิยฺยาส : (ปุ.) ความไหลซึม, ยาง, ยางไม้, เหงือก. วิ. ปสนฺโน หตฺวา นิยสติ ปคฺฆรตีติ นิยฺยาโส. นิปุพฺโพ, ยสุ อายเต, โณ, อถวา, อสุ พฺยาปเน, ยฺอาคโม. ซ้อน ยุ.
นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
เสฺนห : ป. ความรัก, ความเยื่อใย ; น้ำมัน, ยาง
มหาวิกฏ มหาวิกต : (นปุ.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
มหาวิกติ : (อิต.) มหาวิกัติ ชื่อยาแก้พิษขนานหนึ่งมี ๔ ยาง คือ มูต คูถ เถ้า ดิน.
สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
เ สฺนห : (ปุ.) ความเยื่อใย, ความรัก, ความรักใคร่, ความอาลัย, ความติดพัน, ความรักยิ่ง, ยาง(ของความรัก), ความประดิพัทธ์, ความเสน่หา, น้ำมัน. สฺนิหฺ ปีติยํ, โณ.
กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
โกลาป : ค., นป. กลวง, แห้ง, ไม่มียาง; ไม้ตายยืนต้น, ไม้กลวง, ไม้เป็นโพรง
คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
คุคฺคุล, - คุลุ : ก. ไม้กำคูน, ยางไม้ที่เป็นยา
เครุก : (ปุ.) ยางไม้, น้ำมัน.
ธก ธงฺก : (ปุ.) นกกา, นกยาง. ธกฺ ธํกฺ โฆรวาสิเต, อ. นกเหยี่ยว, ธกฺ ธกํ ปริฆาเต, อ.
ธงฺก : ป. กา, นกยาง, เหยี่ยว
ปิจฺฉ : นป. ขนหาง (โดยเฉพาะหมายถึงขนหางนกยูง) ; ยางไม้, กาว
พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
พกสกุณิกา : (อิต.) นกยางตัวเมีย, นางนกยาง.
พลาก : (ปุ.) นกยาง, นกยางกรอก.
พหุลฺลาชีว : (วิ.) เป็นอยู่ฟุ่มเฟือย, เป็นอยู่อยางฟุ่มเฟือย.
มหานาม : (ปุ.) สลัดได (ต้นไม้มียางเหมือนน้ำนมทั่วต้น สมนฺตทุทฺธ).