นิมฺมถติ : ก. บีบ, คั้น, กด, ขยี้, ขยำ, , ย่ำยี, ทำลาย
สมฺมทฺทติ : ก. เหยียบย่ำ, ย่ำยี
อชฺโฌมทฺทติ : ก. ขยี้, เหยียบ, ย่ำยี
ปมถติ : ก. ย่ำยี, เหยียบย่ำ, ข่มขี่, ขยี้
ปมถิต : กิต. (อันเขา) ย่ำยี, เหยียบย่ำ, ขยี้แล้ว
ปมทฺทติ : ก. ย่ำยี, เหยียบย่ำ, ทำลาย, ปราบ, เอาชนะ
ปริมทฺทติ : ก. ย่ำยี; นวด, ทุบ, บีบ, ขยี้
มถติ : ก. ย่ำยี, คนให้เข้ากัน, รบกวน
กิญฺจน : (นปุ.) กิเลสชาตเครื่องกังวล, ความกังวล, ความห่วงใย, กิเลสชาตผู้ย่ำยีสัตว์ วิ. กิญฺเจติ สตฺเต มทฺทตีติ กิญฺจนํ. กิจิ มทฺทเน, ยุ.
จิตฺตปมทฺที : ค. ซึ่งย่ำยีจิตใจ, ซึ่งบีบคั้นจิตใจ
นิมฺมถน : นป. การบีบ, การขยี้, การขยำ, การย่ำยี, การกด, การทำลาย
นิมฺมทน : (นปุ.) การย่ำยี, ความย่ำยี. นิปุพฺโพ, มทฺท มทฺทเน, ยุ. ลบ ทฺสังโยค.
ปมทฺทน : นป. การย่ำยี, การเหยียบย่ำ, การปราบ, การเอาชนะ
ปมทฺที : ค. ผู้ย่ำยี, ผู้เหยียบย่ำ, ผู้ปราบปราม, ผู้สามารถเอาชนะ, ผู้มีอำนาจ
ปมาย : กิต. ประมาณแล้ว, วัดแล้ว, ย่ำยีแล้ว, เหยียบย่ำแล้ว, ทำลายแล้ว
ปริมทฺทน : นป. การย่ำยี; การนวด, การบีบ, การทุบ
มถน : นป. การย่ำยี, การรบกวน
มทฺทน : (นปุ.) การนวด, การย่ำยี, การบด, การทำลาย. ยุ ปัจ.
มทนิมฺมทน : (ปุ.) ความย่ำยีความเมา, การยังความเมาให้สร่าง.
เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
สมฺมทฺท : ป. การเหยียบย่ำ, การย่ำยี
อภินิมฺมทน : นป. การขจัด, การบรรเทา, การย่ำยี
อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.