รชติ : ก. ย้อม
กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
กาสาย, กาสาว : ๑. นป. ผ้าที่ย้อมน้ำฝาด; จีวร;
๒. ค. ซึ่งย้อมน้ำฝาด, ซึ่งย้อมสีเหลือง
กาสายวตฺถนิวตฺถ : (วิ.) ผู้นุ่งแล้วซึ่งผ้าอัน บุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำฝาด, ผู้นุ่งห่มแล้วซึ่ง....
กุงฺกุม : (วิ.) ย้อมแล้วด้วยหญ้าฝรั่น วิ. กุกุเมน รตฺตํ กุงฺกุมํ. ณ ปัจ. ราคาทิ ตัท.
โกสุมฺภ : (นปุ.) ผ้าย้อมด้วยดอกคำ วิ. กุสุมฺเภน รตฺตํ โกสุมภํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
จีวรกมฺม : (นปุ.) การทำซึ่งผ้า, การทำจีวร คือ การสุ (ทำให้สะอาด) แล้วตัดเย็บและย้อม.
ตุงฺคหาร : (ปุ.) แกแล ชื่อไม้เถาชนิดเขื่อง มี แก่นเหลือง ใช้ย้อมผ้าและทำยาไทย.
ทนฺตกาสาว : ค. ซึ่งย้อมน้ำฝาดมีสีเหมือนงาช้าง
ปตฺตงฺค : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยจันทน์แดง วิ. ปตฺตงฺเคน รตฺตํ วตฺถํ ปตฺตงฺคํ ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
รงฺคการ : ป. ผู้ย้อม; ผู้แสดง, ผู้เล่น
รงฺคชาต : นป. สีย้อมชนิดต่าง ๆ
รงฺคชีว : ป. ผู้ย้อม, ผู้ทา
รงฺครตฺต : ค. ซึ่งย้อมแล้วด้วยสี
รชก : (ปุ.) คนฟอก, คนซัก, คนย้อม, คนฟอกผ้า, ฯลฯ, ช่างฟอก, ฯลฯ. รญฺชฺ ราเค, ณฺวุ.
รชน : นป. การย้อม
รชนกมฺม : นป. การย้อม
รชน รชฺชน : (นปุ.) การย้อม, น้ำย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี. รญฺชฺ ราเค, ยุ.
รญฺชน : (นปุ.) การย้อม, ความย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี. วิ. รญฺชนํ รญฺชนํ จันทร์แดง. ว. รญฺชาเปตีติ รญฺชนํ. รญฺชฺราเค, ยุ.
รญฺเชติ : ก. ให้ยินดี ; ให้ย้อม
ราค : ป. สี, เครื่องย้อม, ความกำหนัด, ความยินดี
ราครตฺต : ค. ถูกย้อมด้วยราคะ
วณฺณก : ๑. ค. ผู้ชี้แจ้ง, ผู้พรรณนา;
๒. นป. เครื่องย้อม
สุรตฺต : ค. ย้อมแล้ว, แดงมาก
หาลิทฺท : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยขมิ้น, ย้อมด้วยขมิ้น. วิ. หฺลิทฺทาย รตฺตํ หาลิทฺทํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. มีสีเหลือง วิ. หลิทฺโท. อสฺส อตฺถีติ หาลิทฺทํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
อภยูปรต : (ปุ.) พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่เข้าไปย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่ย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้มีความกลัวอันสิ้นแล้ว.ดูภยูดปรตด้วย.
อภิรตฺต : ค. แดงยิ่ง, แดงมาก; อันราคะย้อมแล้ว
อลตฺตกกต : ค. ย้อมด้วยครั่งหรือสีแดงสด
อหาลิทฺท : ค. ไม่ถูกย้อม, ไม่ได้ย้อม
กทร กทฺทร : (ปุ.) พยอมขาว, กฤษณา. วิ. อีสํ ขุทฺทกํ ทล เมตสฺสาติ กทโร. ลสฺส โร (แปลง ล เป็น ร).
ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
โขม : (นปุ.) ผ้าทอด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าขาว?, ผ้าป่าน, ผ้าใยไหม (ผ้า ลินิน), ผ้าโขมะ, โขมพัตถ์ (ผ้าทำด้วย เยื่อไม้). วิ. ตนุรุหํ ขายติ (ขุยฺยติ) อุตฺตมภาเวนาติ โขมํ. ขุ สทฺเท, โม. ขุมาย วา วิกาโร โขมํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
เถรวาท : (ปุ.) เถรวาทชื่อนิกายของพระพุทธ- ศาสนาฝ่ายใต้ซึ่งถือพระธรรมวินัยตามมติ ของพระเถรพุทธสาวกที่ได้ทำสังคายนาไว้ คือไม่ยอมเปลี่ยนหรือถอนพระวินัย แม้ แต่ข้อเล็กน้อย.
ทนฺตธาวน : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม.
ทาสโวฺยปค : (ปุ.) ทาสที่ยอมตัวเป็นทาสเอง วิ. ภยนิวารณาทฺยตฺถํ ทาสภาว มุปคโต ทาสโวฺยปคโต.
ทาสโวฺยปคต : ค. ผู้เข้าถึงความเป็นทาส, ผู้ยอมตัวเป็นทาสเอง
ทูเตยฺยปหิณคมน : นป. การส่งข่าวและเดินข่าว, การยอมตัวรับใช้ในการสื่อข่าว
ปฏิสฺสว : ป. การรับคำ, คำมั่น, สัญญา, การยอมฟังคำ, การเชื่อฟัง
ปฏิสฺสาวี : ค. ผู้รับคำ, ผู้ยอมฟังคำ, ผู้ยินยอม, ผู้เต็มใจ, ผู้เชื่อฟัง
อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
อนุญฺญาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาตแล้ว.อนุญาตไทยใช้ในความหมายว่ายินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
อนุญฺาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาต แล้ว. อนุญาต ไทยใช้ในความหมายว่า ยินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
อนุททาติ : ก. ยอมให้, เพิ่มให้ ; อนุญาต
อนุมัติ : (อิต.) ความรู้ตาม, ความเห็นชอบตาม, ความเห็นดีตาม, ความยอมตาม, ความยินยอม, การอนุญาต.ส. อนุมัติ.
อาทเปติ : ก. ให้ถือเอา, ให้รับเอา, ให้ยอมตาม