รตน : (วิ.) ประเสริฐสุด.
รตนตฺตย : (นปุ.) หมวดสามแห่งรตนะ, รัตนตรัย, พระรัตนตรัย.
รตนากร : (ปุ.) บ่อเกิดแห่งรตนะ, ทะเล.
รตนตฺตยคุณ : (ปุ.) คุณแห่งพระรัตนตรัย.
รตนมกุล : (วิ.) มีศอกตูมเป็นประมาณ.
ติรตน : (นปุ.) รตนสาม, พระไตรรัตน์, พระ รัตนตรัย. วิ. ตีณิ รตนานิ ติรตนํ.
กุมารีรตน : (นปุ.) รตนะคือนาง, นางแก้ว.
อิตฺถีรตน : (นปุ.) รตนะคือหญิง (หญิงแก้ว นางแก้ว).
ฐปิตมณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณีอันบุคคล ตั้งไว้.
ทุสฺสรตน : นป. รัตนะคือผ้า, ผ้าเนื้อดี, ผ้าชนิดพิเศษ
นวรตน : (นปุ.) แก้วเก้าอย่าง, แก้วเก้าชนิด, แก้วเก้าประการ, นพรัตน์, เนาวรัตน์. แก้วเก้าอย่าง คือ เพชร ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน นิล มุกดา เพทาย และ ไพฑูรย์. ส. นวรตฺน.
มกุฬรตน : (นปุ.) กำมา คือศอกที่กำนิ้วมือ.
มณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณี, แก้วเพชร.
อสฺสรตน : นป. ม้าแก้ว
กิรีฏ : (ปุ. นปุ.) มงกุฎ, ชฎา, เทริด. วิ. โสเภตุ เมตฺถ รตนานิ วิกิรียนฺตีติ กิรีฏํ. กิรฺ วิกิรเณ, อโฏ. กิเรรี
อุปาสก : (ปุ.) ชนผู้นั่งใกล้พระรัตนตรัย, ชน ผู้นับถือพระรัตนตรัยเป็นสรณะ, อุบาสก (คนผู้ชายผู้นับถือพระพุทธศาสนา). วิ. รตนตฺตยํ อุปาสตีติ อุปาสโก. อุปปุพฺโพ, อาสฺ อุปเวสเน, ณฺวุ. ส. อุปาสก.
มณิ : (ปุ. อิต.) แก้ว, แก้วมณี, รตนะ, เพชร, พลอย, เพชรพลอย. วิ. มนติ มหคฺฆภาวํ คจฺฉตีติ มณิ. มนฺ ญาเน, อิ, นสฺส ณตฺตํ. มียติ อาภรณํ เอเต-นาติ วา มณิ. มา มานเน, อิ, นฺ อาคโม, อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง อี ปัจ. เป็น มณี อีกด้วย. แปลว่า ดาบเพชร ก็มี. กัจฯ ๖๖๙ วิ. มนํ ตตฺถ รตเน นยตีติ มณิ. มณี ชื่อรตนะอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง.
ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
กฏฺฐิสฺ ส : (นปุ.) กัฏฐิสสะ ชื่อเครื่องลาดแกม ไหมด้วย ติดรตนะด้วย. โกสิยสุตฺตกฏฺฐิสฺ สวาเกหิ ปกตํ อตฺถรณํ กฏฺฐิสฺสํ. กฐ ล ปุ.) ก้อนกรวด, กระเบื้อง. กฐิ. โสเก, อโล. ลูกนิ่ว. กฐฺ กิจฺฉชิ่วเน, อโล.