นิรุมฺภติ : ก. ปราบปราม, ระงับ, ทำให้เงียบ, นิ่งเงียบ
ปฏิวิเนติ : ก. กำจัด, ขับไล่, ระงับ, ข่มไว้
ปสฺสทฺธ : ค. สงบ, ระงับ, เงียบ
ปสฺสมฺภติ : ก. สงบ, ระงับ, เงียบ
ปุปฺผ : นป. ดอกไม้; เลือด, ระดูของหญิง
โลหิต : ๑. นป. โลหิต, เลือด;
๒. ค. แดง
อภิสมฺมติ : ก. สงบ, ระงับ, หยุด
อุปสมติ : ก. สงบ, ระงับ
อุปสมฺมติ : ก. สงบ, ระงับ, เข้าไประงับ
อุปสเมติ : ก. สงบ, ระงับ
ปุปฺผก : นป. เลือด
โสณิต : (นปุ.) โลหิต, เลือด. โสณฺ วณฺเณ, โต, อิอาคโม. ส. โศณิต.
อุตฺตตฺต : (นปุ.) เลือด. วิ. อุทฺธํ ตตฺตํ อุตฺตตฺตํ. อุทฺธํปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โต, ปสฺส โต.
กายปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับแห่งนามธรรมหรือเจตสิก, ความสงบระงับแห่งกองเวทนา, สัญญาและสังขาร
กิเลสวูปสมนนิพฺพานรติ : (อิต.) ความยินดี ในพระนิพพานอันเป็นเครื่องเข้าไประงับ ซึ่งกิเลส.
จิตฺตปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
จิตฺตวูปสม : ป. ความเข้าไปสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ตสฺสปาปิยสิกา ตสฺสปาปิยฺยสิกา : (อิต.) ตัสสปาปิยสิกา ชื่อวิธีระงับอาบัติอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง
ติณวตฺถารก : (ปุ.) ติณวัตถาระกะ ชื่อวิธีระงับ อธิกรณ์อย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง คือการประนีประนอมกันทั้งสองฝ่าย ไม่ต้องชำระความเดิม.
นารีปุปฺผ : (นปุ.) ดอกไม่ของหญิง, ระดูของ หญิง, ประจำเดือน (โรคประจำเดือนของ หญิง เลือดที่ออกจากมดลูกเป็นประจำ เดือน).
นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ,
๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
นิริงฺคินี : (อิต.) เส้นเลือด, สายเลือด. นิ+ ริงฺคินี. ส. นิริงฺคินี ผ้าคลุม.
ปฏิปฺปสฺสทฺธ : กิต. สงบระงับแล้ว
ปฏิปฺปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบระงับ, ความสงบเยือกเย็นภายในจิตใจ
ปฏิปฺปสฺสมฺภติ : ก. สงบระงับ
ปฏิวินย : นป. การกำจัด, การระงับ, การแก้, การข่มไว้
ปฏิวินีต : กิต. (อันเขา) กำจัดแล้ว, ขับไล่แล้ว, ระงับแล้ว, ข่มไว้แล้ว
ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
ปสมฺมติ : ก. ระงับ, สงบ, ดับ, เหือดแห้ง
ปสฺสทฺธตา, ปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบ, ความระงับ, ความเงียบ
ปสฺสมฺภนา : อิต. ความสงบ, ความระงับ
ปสฺสมฺเภติ : ก. ทำให้สงบ, ทำให้ระงับ
ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
มงฺกุณ : (ปุ.) เรือด, ชื่อสัตว์เล็กชนิดหนึ่งอยู่ตามร่องและที่นอนกัดกินเลือดคน.
มธุมุตฺต : (นปุ.) เบาหวาน ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าปกติ.
รุธิร : นป. เลือด, โลหิต
รุหิร : นป. เลือด, โลหิต
โลหิตภกฺข : ค. ซึ่งกินเลือด, สัตว์ที่เลี้ยงด้วยเลือด
สนฺต : กิต. สงบระงับแล้ว
สนฺนิรุมฺภน : นป. การยับยั้ง, การสอบทาน, การระงับ, การปราบปราม
สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
สมณ : (นปุ.) ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ.
สมฺณ : (ปุ.) สมณะ พระสมณะ(ผู้สงบ ผู้สงบระงับ). วิ. สเมติ สมียติ วา ปาปํ อเนนาติ สมโณ. สมุ อุปสเม, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ.
สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
สมฺมุขวินย : (ปุ.) สัมมุขาวินัย ชื่อวิธีระงับอธิกรณ์อย่างที่ ๑ ใน ๗ อย่าง.
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
อธิกรณสมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังอธิกรณ์ให้ระงับ, ธรรมเป็นเครื่องระงับอธิกรณ์, ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์, วิธีการสำหรับระงับอธิกรณ์.
อนุปสนฺต : ค. ผู้ไม่สงบระงับ
อนุวาทาธิกรณ : (นปุ.) อธิกรณ์อันเกิดจากการกล่าวหา, เรื่องที่ต้องระงับอักเกิดจากการกล่าวหา, อนุวาทาธิกรณ์(การโจทกันด้วยอาบัตินั้นๆ).