Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ระบบประสาท, ประสาท, ระบบ , then ปรสาท, ประสาท, ประสาทะ, ปราสาท, รปป, ระบบ, ระบบประสาท .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ระบบประสาท, 31 found, display 1-31
  1. กายประสาท, - ยปฺปสาท : ป. กายประสาท, ความรู้สึกทางกาย
  2. อินฺทิย อินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่, ร่าง กาย, ร่างกายและจิตใจ, กำลัง, กำลังกาย, อำนาจ, ความรู้สึก, สติปัญญา, ประสาท, หน้าที่, อินทรีย์ (ความเป็นใหญ่ในกิจ นั้น ๆ). วิ. อินฺโท อตฺตา, ตสฺส ลิงฺคํ อินฺทิยํ อินฺทริยํ วา. อิย ปัจ. อินฺทติ ปรมิสฺสริยํ กโรตีติ วา อินฺทิริยํ. อิทิ ปรมิสฺสริเย, อิโย. ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ทฺร. ส. อินฺทริย.
  3. ปสาท : ป., นป. ความผ่องใส, ความเบิกบาน, ความบริสุทธิ์, ความยินดี, ความพอใจ, จิตที่มีความสุขผ่องแผ้ว, ศรัทธา, ความสงบระงับ; ประสาท เช่น “ประสาทตา” เป็นต้น
  4. ฆานปสาท : (ปุ.) ประสาทของจมูก, ฆาน- ประสาท (เส้นใยสำหรับรับความรู้สึก ทางจมูก).
  5. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  6. ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
  7. จกฺขุธาตุ : (ปุ. นปุ.) ธาตุคือตา. หมายเอาแววตา ประสาทตา.
  8. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  9. จกฺขุวิญญาณ : (นปุ.) ความรู้อันอาศัยประสาท ตาเกิดขึ้น, ความรู้ทางตา.
  10. ชิวฺหาปสาท : ป. ชิวหาประสาท, ความรับรู้รส
  11. ชิวฺหายตน : (นปุ.) อายนะคือลิ้น, ชิวหาประ สาท (หมายเอาประสาทรับรู้รส).
  12. ธมนิ, - นี : อิต. เส้นเลือด, เส้นเอ็น, เส้นประสาท
  13. ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
  14. นฺยาย : ๑. ป. ดู นย๒. ป. ระบบปรัชญาอินเดียสายหนึ่งใน ๖ สาย
  15. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  16. มมฺม, มมฺมฏฺฐาน : นป. จุดสำคัญของร่างกาย, ที่รวมประสาท
  17. รสคฺคสา : อิต. เส้นประสาท
  18. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  19. ยูป : (ปุ.) เทวาลัย, ปราสาท, ราชวัง. ยุ มิสฺสเน, โป, ทีโฆ จ.
  20. โปริสาท : ค. มีคนเป็นอาหาร, ผู้กินคน
  21. กุฏาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนยอด (ปราสาท).
  22. จตุรสฺสก : (ปุ. นปุ.) เรือนมีมุมสี่, ปราสาท. วิ. จตุรสฺสปติสฺสยวิเสโส จตุรสฺสโก.
  23. นค : (ปุ.) ต้นไม้, ภูเขา, วิ. น คจฺฉคติ นโค. นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. สญฺญาสทฺทตุตา น อตฺตํ (ไม่แปลง น เป็น อ). รูปฯ ๕๗๐. แปลว่า ปราสาท ก็มี นิคคหิตอาคม เป็น นงฺค บ้าง. ส. นค.
  24. นคร : (วิ.) ผู้มีปราสาท วิ. นโค อสฺส อตฺถีติ นคโร. รปัจ, ตทัสสัดถิคัท.
  25. ปาสาท : ป. ปราสาท, ราชวัง, คฤหาสน์, เทวาลัย, เรือนสี่เหลี่ยม
  26. ปาสาทตล : นป. พื้นปราสาท
  27. มธุปุปฺผปาสาท : (ปุ.) ปราสาทผึ้ง.
  28. มุณฑจฺฉทฺท : (ปุ.) ปราสาทโล้น, บ้านเศรษฐี.
  29. สิลายูป : (ปุ.) ปราสาทหิน,
  30. หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
  31. หมฺมิย : (นปุ.) เรือนโล้น, ปราสาทโล้น. หรฺ หรเณ, โย, ยมฺหิ มิอาคโม, รสฺส โม. โบราณแปลว่าบ้านเศรษฐี. ทิมแถว(เรือนหลังคาตัด) ทิมคต ก็ว่า.
  32. [1-31]

(0.0573 sec)