กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
กญฺจนกทลิกฺขณฺฑ : ป. เครือกล้วยสุก
กณฺฏกลตา : อิต. เครือเถาที่มีหนาม
กปฺปลตา : อิต. เครือเถาเหมือนกับต้นกัลปพฤกษ์
กปิกจฺฉุ : ป. ไม้อเนกคุณคัน, ต้นตุมกาเครือ, ดีปลี
กลิงฺคุล : (ปุ.) รางแดง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งใช้ ทำยา. เถาวัลย์เครือ ก็เรียก.
กามชาล : นป. ข่ายคือกาม, กามมีอาการรึงรัดดุจตาข่าย
กาฬวลฺลิ กาฬวลฺลี : (อิต.) เครือเถาหญ้านาง.
กิงฺกิณิกชาล : นป. ข่ายแห่งกระดิ่ง, กระดิ่งตาข่าย, ห่วงลูกพรวน
กึกิณิกชาล : (นปุ.) ข่ายแห่งกระดึง.
กุนฺท : (ปุ.) มะลิเครือ, มะลิวัลิ, มะลิวัลย์.
ควิ : ป. เครือเถาคล้ายต้นไม้ยืนต้น, ในคำว่า ควิปฺผล = ผลควิ
คุฬผล : (ปุ.) มะซาง, ชะเอมเครือ. วิ. คุโฬ วิย สาเตน ผล เมตสฺสาติ คุฬผโล.
โจรโกฏฺฐ : (ปุ.) ไคร้เครือ.
ฉลฺลิ : (นปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้, สะเก็ด. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ลิ, ทสฺส โล. ส. ฉลฺลิ. ฉลฺลี. ฉลฺลี (ปุ.?) ลูกหลาน, เครือเถา, เถาวัลย์.
ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
ชาล : (นปุ.) ข่าย, แห. ชลฺ อปวารเณ, โณ. อถวา, ชปุพโพ, ลา อาทาเน, อ. วิ. เช สีฆคเต ธาวนฺเต มิคาทโย ลาตีติ ชาโล. ส. ชาล.
ชาลตณฺหา : อิต. ข่ายคือตัณหา, อำนาจความอยาก, ความดิ้นรน
ชาลิก : (ปุ.) คนดักปลาด้วยข่าย, คนฆ่าปลา ด้วยข่าย, ชาวประมง วิ. ชาเล นิยุตโตติ ชาลิโก. ชาเลน หนฺตีติ วา ชาลิโก. ณิก ปัจ. ส. ชาลิก.
ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
ชาลี : (วิ.) มีข่าย วิ. ชาล มสฺส อตฺถีติ ชาลี. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
ชิญฺชุก : (ปุ.) มะกล่ำ, มะกล่ำเครือ มะกล่ำ ตาหนู ก็เรียก, กระพังโหม ชื่อไม้เถามี กลิ่นเหม็น ใบเรียวเล็ก ใช้ทำยา. ชญฺชฺ ยุทฺเธ, อุโล, อสฺสิ.
ญาณชาล : นป. ข่ายคือญาณ, ข่ายคือความรู้
ญาติปริวฏฺฏ : นป. ความหมุนเวียนแห่งญาติพี่น้อง, เครือญาติ
ตณฺหาชาล : นป. บ่วงคือตัณหา, ข่ายคือตัณหา
ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
ตามฺพูลี : อิต. เครือพลู, เถาพลู
ติณวลฺลิปลิเวฐิต : (วิ.) ผู้อันเครือแห่งหญ้าพันแล้ว.
ทิฏฺฐิชาล : นป. ข่ายคือ ทิฐิ
ธมฺมชาล : นป. ข่ายคือธรรม; ชื่อของพระสูตรหนึ่งคือธรรมชาลสูตร, พรหมชาลสูตรก็เรียก
นฺยาย :
๑. ป. ดู นย๒. ป. ระบบปรัชญาอินเดียสายหนึ่งใน ๖ สาย
ปทาลตา : อิต. เครือดิน, ไม้เถามีลักษณะคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย
ปาฐา : อิต. จิงจ้อ, โกฐเขมา, ตุมกาเครือ, ดีปลี
ปูติลตา : (อิต.) เถาเน่า, เครือเถาเน่า, เถาหัวด้วน, ต้นตำแย, บอระเพ็ด, กระพังโหม. วิ. ติตฺตรสตฺตา ปูติภูตา ลตา ปูติลตา. ปุ ปวเน, ติ.
พทาลตา : อิต. เครือดิน (ไม้เถาชนิดหนึ่งมีสัณฐานคล้ายผักบุ้งหรือแพงพวย)
พฺรหฺมชาล : นป. ข่ายที่เลิศ, ข่ายที่ประเสริฐ
พิมฺพิชาล : นป. ไม้มะกล่ำหลวง, ไม้มะกล่ำเครือเป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านามว่า “ธัมมทัสสี”
ภณฺฑก : (ปุ.) มะแว้งเครือ.
มธุกา : (อิต.) ชะเอมเครือ. มธุรรสตาย มธุกํ. ก ปัจ. ลงในอุปมาณ. ฎีกาอภิฯ
มธุทฺทุม : (ปุ.) มะซาง, ชะเอมเครือ. วิ. มธุนาโม ทุโม มธุทฺทุโม.
มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
มาลุวา : (อิต.) เครือเถาย่านทราย, เครือย่านทราย, เถาย่านทราย, เถาย่างทราย, เถากระพังโหม.
ยฏฺฐิมธุกา : อิต.ชะเอมเครือ
ยฏิฐมธุกา : (อิต.) ชะเอมเครือ วิ. ทณฺฑาการ ตฺตา ยฏฺฐ จ สา มธุรสตฺตา มธุกา เจติ ยัฏฺฐมธุกา.
ลตา : อิต. เถาวัลย์, เครือไม้, กิ่ง
วาคุริก : ค. ผู้ใช้ข่ายหรือบ่วงดักสัตว์
หิริเวร : (นปุ.) เครือเขาหญ้านาง, เครือเถาหญ้านาง, เครือหญ้านาง, เถาหญ้านางชื่อเครือเถาสมุนไพรอย่างหนึ่ง. วิ. หิรินามิกาย เทวธีตาย สรีรโต สญฺชาตตฺตา หิริเวรํ.
อนฺโตชาล : นป. ภายในข่าย
อนฺโตชาลิกต : ค. ถูกตะล่อมเข้าในข่าย, อยู่ในข่าย
อนาย : (ปุ.) ข่าย, แห.