สร : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, เที่ยวไป, ออกเสียง, กำจัด, ขจัด, คิด, คำนึง, นึก, ระลึก, เปล่งออก, ซ่านออก.
สรติ : ก. ระลึก
กามานุสารี : ค. ผู้ระลึกถึงกามเป็นนิตย์, ผู้ใฝ่ใจในความสุขทางกาม
จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
ชาติสฺสร : ค. ผู้ระลึกชาติได้
เทวตานุสฺสติ : อิต. เทวตานุสสติ, การระลึกถึงคุณของเทวดา
ธมฺมสารี : ค. ผู้ระลึกถึงธรรม
ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
ธมฺมานุสาร : (ปุ.) ความระลึกตามซึ่งพระธรรม. ธมฺม+อนุสาร. ความระลึกซึ่งคุณแห่ง พระธรรม ธมฺมคุณ+อนุสาร.
ธมฺมานุสารี : (ปุ.) คนผู้ระลึกตามซึ่งพระธรรม, ฯลฯ.
นิมิตฺตานุสารี : ค. ผู้ตามระลึกถึงนิมิต
ปญฺจาภิญฺญา : อิต. อภิญญาห้า, ความรู้ยิ่งห้าประการ (แสดงฤทธิ์ได้, หูทิพย์, ตาทิพย์, รู้ใจคนอื่น, ระลึกชาติได้)
ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
ปฏิสฺสติ : อิต. สติมั่นคง, ความระลึกได้, ความจำได้
ปฏิสารณ : นป. การให้หวนระลึกถึงความผิด, การให้ยอมรับผิด, การให้แก้ความผิดด้วยการขอคืนดี
ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
พุทฺธานุสฺสติ : อิต. สติอันเป็นไปในพระคุณของพระพุทธเจ้า, การระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า
มรณสฺสติ : อิต. การระลึกถึงความตาย
มรณานุสฺสติ : (อิต.) ระลึกถึงซึ่งความตาย, ความนึกถึงความตาย, การนึกถึงความตาย. วิ. มรณานํ อนุสฺสติ มรณานุสฺสติ. เป็น ฉ. ตัป. รูปฯ ๓๓๖.
มิจฺฉาสติ : (อิต.) ความระลึกผิด, ความระลึกไปในทางที่ผิด.
วิปฺปฏิสาร : ป. ความเดือดร้อน, ความร้อนใจ; การระลึกถึงผิด
สต : ๑. นป. ร้อย;
๒. ค. มีสติ;
๓. กิต. ระลึกได้, จำได้แล้ว
สติ : อิต. ความระลึกได้
สมนุสฺสรติ : ก. ระลึกถึง, นึกออก
สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
สรณคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งที่พึ่ง, การถึงสรณะ, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นที่พึ่ง, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ, สรณคมน์ คือการรับเอาพระรัตนตรัยได้แก่พระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นการปฏิญญาณตนว่าเป็นอุบาสก อุบาสิกานับถือพระพุทธศาสนา.
สรณตา : (อิต.) ความเป็นแห่งความระลึก, กิริยาที่ระลึก.
สรณีย : ค. ควรระลึก
สารถิ : (ปุ.) คนบังคับม้า, คนผู้ยังมาให้ระลึก, วิ. สาเรตีติ สารถิ. สรฺ จินฺจายํ, ถิ. คนไปกับด้วยรถ, คนขับรถ, สารถี. วิ. รเถน สห สรตีติ สารถิ. อิณฺ ปัจ. สรฺ คติยํ วา, ถิ. ส. สารถิ.
สาราณิย : (วิ.) อัน...พึงระลึก, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก.
สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
สารี : ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ระลึก
สาเรติ : ก. ระลึก, แล่นไป
อนุสรติ : ก. ไปตาม, ติดตาม, ตามระลึก
อนุสฺสติ : (อิต.) อันระลึกเนืองๆ, ความระลึกบ่อยๆ, ความระลึกตาม, ความระลึกถึง, ความระลึก.วิ. อนุ ปุนปฺปุนํสรณํ อนุสฺสติ
อนุสฺสรณ : (นปุ.) ความระลึกเนืองๆ, ฯลฯ, อนุสรณ์(เครื่องระลึกที่ระลึก). ส.อนุสรณ.
อนุสฺสรติ : ก. ระลึกถึง, คำนึงถึง
อนุสฺสริตุ : ป. ผู้ระลึกถึง, ผู้คำนึงถึง
อนุสารี : ค. ติดตาม, ตามไป, ตามระลึก
อนุสาเรติ : ก. ๑.ให้นำมารวมกัน;
๒. ให้เป็นไปตาม ;
๓. ให้ระลึกถึง
อสมฺปชญฺญ, - ชาน : ค. ไม่มีสัมปชัญญะ, ไม่มีสติความระลึกได้
อสมฺโมทก, - ทิก, - ทนีย : ค. ไม่น่ายินดี, ไม่น่าบันเทิง, ไม่เป็นเครื่องให้ระลึกถึงกัน ; ไม่เป็นมิตรกัน
อสรณ : ค. ไม่มีที่พึ่ง, ไม่มีที่พำนัก, ไม่มีเครื่องระลึก
อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.