รส : ป. รส, อายตนะส่วนหนึ่งเป็นวิสัยแห่งลิ้น; อาหารเหลว; มรรยาท; หน้าที่; สมบัติ;ปรอท
รสหราณี : อิต. สิ่งที่นำมาซึ่งรส, ผู้ปรุง
อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.
กรุณารส : ป. รสแห่งความกรุณา
กามรส : ป. กามรส, รสแห่งความใคร่
ชมฺภรส ชมฺภีรรส ชมฺภุลรส : (ปุ.) รสมะนาว, ฯลฯ.
เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ
(๑) สิงฺคาร ความรัก
(๒) กรุณา ความเอ็นดู
(๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ
(๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์
(๕) หสฺส ความร่าเริง
(๖) ภย ความกลัว
(๗) สนฺต ความสงบ
(๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง
(๙) รุทฺธ ความโกรธ
นานารส : ป. รสต่างๆ
ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
ปฐวีรส : ป. รสแห่งดิน, รสเกิดจากดิน, รสดิน
ปตฺตรส : ป. รสเกิดแต่ใบ
ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
มโนสิลารส : (ปุ.) รสแห่งมโนสิลา, น้ำแห่งมโนสิลา.
สรสี : (อิต.) สระ, บึง. สรฺ คติยํ, อโส, อิตฺถิยํ อี. ส. สรสี.
โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
หสฺสรส : (ปุ.) รสหรรษา.
อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปดเป็นประมาณ.อสมาหารทิคุ.กัม.อฏฺฐารสโกฏิโยอฏฺฐารสโกฏิโย.ฉ.ตุล.อฏฺฐารสโกฏิโยปมาณานิยสฺสตํอฏฺฐารสโกฏิปมาณํ(ธนํ)วิเสสนบุพ. กัม.อฏฺฐารสโกฏิปมาณํธนํอฏฺฐารสโกฎธินํ.เป็นมัชเฌโลบ.
อพฺภูตรส : (ปุ.) รสประหลาด.
อุจฺฉุรส : (ปุ.) รสแห่งอ้อย, น้ำอ้อยงบ.
กนกรส : ป. แร่ชนิดหนึ่งมีสารหนูกับกำมะถันใช้ทำสีเหลือง
กุกฺกุรสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีจอ, ปีหมา.
จตุราสีติ : ค. แปดสิบสี่
จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
จตุราสีติสหสฺส : (นปุ.) พันแปดสิบสี่เป็นประ มาณ, พันแปดสิบสี่, แปดหมื่นสี่พัน.
ตามรส : (นปุ.) บัว, ทองคำ, ทองแดง.
เตรส : ค. สามสิบ
นิรส : (นปุ.) นิรสะ ชื่อพระนิพพาน, พระ นิพพาน, การสละ, การละทิ้ง, การสละ ตัณหา, การละทิ้งตัณหา. นิปุพฺโพ, อสุ เขเป, อ, รฺอาคโม.
ปณฺณรส : ค. สิบห้า
ปณฺณรสี : อิต. ดิถีที่สิบห้า, ขึ้นหรือแรม ๑๕ ค่ำ
ปุปฺผรส : ป. น้ำคั้นที่ทำด้วยดอกไม้, เครื่องดื่มที่ทำด้วยดอกไม้
พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
มกรสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) มะโรง, ปีงูใหญ่.
รีสี : อิต. ทองเหลือง
โรส : ป. ความโกรธ, ความอาฆาต
สารส : (ปุ.) นกกระไน, นกตระไน, นกกระเต็น. วิ. สรติ กีเฎติ สารโส. สรฺ หึสายํ, โส, ทีโฆ จ.
สุกรสวจฺฉร สูกรสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) กุน, ปีกุน, ปีหมู.
องฺคีรส : (วิ.) ผู้มีองค์เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากอวัยวะ, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตน, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตนดังเปลวไฟ.วิ. องฺคมฺหิ กาเยรโส รํส ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส. ณ ปัจ.ตทัสสัตถิตัท. อี อาคม.
อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบแปด.อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตรแปลงทเป็นรฑีฆะ.
อนุตฺตราสีอนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
อนุตฺตราสี อนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่ สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
อนุตฺราสี : ค. ผู้ไม่สะดุ้ง, ผู้ไม่หวาดกลัว
อนุปนิรส : ค. ไม่มีเหตุใกล้ชิด, ไม่มีความแน่วแน่
อิกฺขรส อิกขุสาร : (ปุ.) น้ำอ้อย
อุตฺรสติ อุตฺตรสติ อุตฺตรสฺติ : (อิต.) ความหวาด, ความหวาดเสียว, ความสะดุ้ง, ความตกใจ, ความกลัว. อุปุพฺโพ, ตฺรสฺ อุพฺเพเค, ติ.