ราช : ป. พระราชา
กุมฺภีลราชา : ป. พญาจระเข้
คิริราชา : ป. เขาหลวง, เขาใหญ่
เทวราช : (ปุ.) เทวดาผู้พระราชา, พระเทวราช ชื่อของพระอินทร์, พระอินทร์, ท้าวสักกะ. วิ. เทวานํ ราชา เทวราชา.
ธมฺมราช : (ปุ.) พระราชาแห่งะรรม, พระราชาโดยธรรม, พญาโดยธรรม, พระธรรมราชาเป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ธมฺมสฺส ราชา ธมฺมราชา. ธมฺมสฺส วา ราชาปวคฺคกคฺคา ธมฺมราชา. ธมฺมเมน ราชตีติ วา ธมฺมราชา. ส. ธรฺมราช.
ชนาธิป : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่แห่งชน, คนผู้เป็น จอมแห่งชน, พระผู้เป็นจอมแห่งชน, พระ จอมประชาชน, พระราชาผู้เป็นใหญ่แห่ง ชน, พระเจ้าแผ่นดิน, พระราชา. วิ. อธิ – ปาตีติ อธิโป. อธิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, โร. ชนานํ อธิโป ราชา ชนาธิโป.
จกฺกวตฺติ จกฺกวตฺติราช : (ปุ.) พระราชา จักรพรรดิ, พระเจ้าจักรพรรดิ, จักรพรรดิ- ราช.
ราชกุมาร : ป. ราชกุมาร, เจ้าชาย, โอรสของพระราชา
รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
สุปณฺณราช : (ปุ.) ครุฑผู้พระราชา, พระครุฑ, สุปัณราช, สุบัณราช. ส. สุปรฺณราช.
อภิราช : (ปุ.) พระราชาผู้ยิ่ง, พระอภิราช.
ราชภฏ : ป. ทหาร, ผู้ที่พระราชาทรงชุบเลี้ยง, ข้าราชการ
ราชโภคฺค : ค. ซึ่งควรแก่พระราชาทรงใช้
จกฺกวาลรชฺช : นป. ราชสมบัติในรอบจักรวาล, ความเป็นพระราชาผู้มีอำนาจทั่วจักรวาล
มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
รชฺชกาล : (ปุ.) เวลาแห่งความเป็นพระราชา, รัชกาล คือ ระยะเวลาครองราชสมบัติของพระราชาองค์หนึ่งๆ.
ราชกมฺมิก : ป. ราชอำมาตย์ , คณะของพระราชา
อุปราช : (ปุ.) พระราชารอง (รองจากพระเจ้าแผ่นดิน), อุปราช คือผู้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าแผ่นดิน ในส่วนหนึ่ง ๆ ของ พระราชอาณาจักร.
อุยฺยาน : (นปุ.) สวนเป็นที่แลดูในเบื้องบนไป, สวนเป็นที่แหงนดูเดินไปพลาง, สวนเป็น ที่รื่นรมย์, สวน, สะตาหมัน (สวน), ป่า, ป่าของพระราชา (ใช้ได้ทั่วไป), อุทยาน, พระราชอุทยาน, สวนหลวง. วิ. สมฺปนฺน- ทสฺสนียปุปฺผผลาทิตาย อุลฺโลเกนฺตา ยนฺติ ชนา เอตสฺมินฺติ อุยฺยานํ. ส. อุทฺยาน.
ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
ปฏิราช : ป. พระราชาฝ่ายตรงข้าม, ราชาผู้เป็นศัตรู
ปเทสราช : ป. พระราชาในประเทศ, พระเจ้าแผ่นดินผู้ครองเฉพาะหรือดินแดนบางส่วน
มิคราช มิคินฺท : (ปุ.) ราชาแห่งเนื้อ, จอมแห่งเนื้อ, ราชสีห์.
อคฺคมหาราช : (ปุ.) พระราชาผู้ใหญ่ผู้เลิศ, พระอัครมหาราช.
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
ขคปติ ขคราช : (ปุ.) นกผู้เป็นใหญ่, นกผู้ราชา, ครุฑ (นกผู้เป็นพาหนะของพระวิษณุ).
จกฺกี : (ปุ.) คนมีจักร, พระราชา, จักรี, จักริน ส. จกฺรี จกฺรินฺ.
ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
ชคตีปาล : ป. พระเจ้าแผ่นดิน, พระราชา
ชคตี ปาล : (ปุ.) ชนผู้รักษาแผ่นดิน, พระราชา, พระยา.
ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
เทวคห, - คหณ : ค. (ไม้) ซึ่งพระราชาผู้สมมติเทพทรงหวงแหน, ซึ่งเป็นของหลวง
ธมฺมนาฏก : ค. นักฟ้อนโดยธรรม, นักฟ้อนโดยกฎหมาย, นักฟ้อนที่พระราชาทรงอนุญาติให้เป็นสาธารณะโดยถูกต้องตามกฎหมาย
นาคราช : (ปุ.) นาคผู้พระราชา, พญางู, พญานาค.
นาเทว นรนาถ นรนายก นรป นรปติ นรปาล นรราช นราธิป นรินท : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. ส. นเรนทร, นฤป, นฤปติ.
ปตฺถิว : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ปถวิยา อิสฺสโร ปตฺถิโว. ปถวี + ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ถ เป็น ตฺถ แปลง อ ที่ ถ เป็น อิ ลบ อี ที่ วี ลบ ณฺ เหลือ อ วฺ อาศัย อ.
ปเทสรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาในประเทศ, ความเป็นใหญ่ในถิ่น, ความเป็นเจ้าประเทศราช
ปพฺพตราช : ป. ราชาแห่งภูเขา, จอมแห่งภูเขา, ขุนเขา หมายถึงภูเขาหิมาลัย
ปุรกฺข : (วิ.) กระทำในเบื้องหน้า, ห้อมล้อม, ผู้อภิเษกแล้ว (พระราชา...). ปุรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. แปลง กรฺ เป็น ข ซ้อน กฺ.
พฺรหฺมเทยฺย : นป. พรหมเทยย์, ของที่ได้รับพระราชทานจากพระราชา
พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
ภูนาถ ภูป ภูปติ ภูปาล ภูภุช ภูมิธร ภูมินฺท ภูมิป ภูมิ-ปาล : (ปุ.) พระยา, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
ภูมี : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
มจฺจราช : (ปุ.) พระเจ้าแห่งความตาย, พระราชาคือมัจจุ, พญามัจจุ, พญา-มัจจุราช, พระยม, พญายม, ความตาย.
มณฺฑลิสฺสร : ป. พระราชา, ผู้ตรวจภาค, ข้าหลวงภาค
มนุเชส : (ปุ.) คนผู้เป็นจอมมนุษย์, พระราชา. มนุช+อีส.
มสูร : (ปุ.) ข้าวเปลือกวิเสส, เบาะ, แก้วมณี, ถั่วราชา. มสฺ อามสเน, อูโร. รูปฯ ๖๔๔.