ราชกกุธภณฺฑ : นป. เครื่องราชกุธภัณฑ์
ราชายตน : ป. ไม้ราชายตนะ, ไม้เกด
ราชกมฺมิก : ป. ราชอำมาตย์ , คณะของพระราชา
ราชงฺคณ : นป. สนามหลวง, สนามหน้าพระราชวัง
ราชนิเวสน : นป. ราชนิเวสน์, พระราชวัง
ราชมหามตฺต : ป. นายกรัฐมนตรี, มหาอำมาตย์ของพระราชา
ราชมุทฺทา : อิต. พระราชลัญจกร
ราชรุกฺข : ป. ต้นราชพฤกษ์
ราชวยฺห : ป. ช้างพระที่นั่ง
ราชวลฺลภ : ค. ซึ่งป็นที่ทรงโปรดของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชาณา : อิต. อาณาของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชามจฺจ : ป. อำมาตย์ของพระเจ้าแผ่นดิน
ราชาหส : ป. ราชหงส์, หงส์ซึ่งมีปากและเท้าแดง
ราสิ : ป. กอง, ก้อน, กลุ่ม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม
พาหิร พาหิรา : (อัพ. นิบาต) ภายนอก, ใน ภายนอก.
กณฺฑรา : (อิต.) เอ็นใหญ่ กฑิ เภทเน, อโร. ส. กณฺฑรา.
กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
การา : (อิต.) เรือนจำ, ตะราง, ที่คุมขังนักโทษ. วิ. กโรติ อตฺราติ การา. กรฺ หึสายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ.
คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
ปุราตน :
(วิ.) เก่า, ก่อน, ฯลฯ. วิ. ปุรา ภโว ปุราตโน. ตน ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒. ดู ปุราณ(วิ.)
ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
สราสน : (นปุ.) ธนู, ศร. วิ. สรํ อสตีติ สราสนํ. อสุ เขปเน, ยุ.
สิรา : (อิต.) เอ็น วิ. เสติ สรรนฺติ สิรา. สิ พนฺธเน, โร, อิตฺถิยํ อา.
สิโรธรา : (อิต.) คอ วิ. สิรํ ธรตีติ สิโรธรา. สิรปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ, อิตฺถิยํ อา. สิโร ธิยฺยเต อสฺสนฺติ วา สิโรธรา. ธา ธารเณ, อโร.
ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
พฺยุหยาตฺรา : (อิต.) การไปเป็นกระบวน, การไปเป็นกระบวนทัพ, ฯลฯ, กระบวนทัพ.
กฏมฺภรา : อิต. บัวคำชนิดหนึ่ง; ช้างพัง
กฏุรา : อิต. เศษนมที่เหลือจากทำเนย, เปรียง
กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
การาคารปติ : (ปุ.) พัสดี.
การาคาราธิปติ : (ปุ.) อธิบดีกรมราชทัณฑ์.
การาปก : ป., นป. คนหรือสิ่งที่ให้ทำ
การาปกฺขิปน : (นปุ.) การตัดสินจำคุก.
การาปน : นป. การสั่งให้ทำ
การาเปติ : ก. ให้ทำ, ปกครอง; เสวย (ราชย์)
การาเภทก : ค. ผู้ทำลายคุก; ผู้แหกคุก
กุสุมฺภรา : อิต. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง
ขคฺคธารา : อิต. คมพระขรรค์, คมดาบ
ขณฺฑสกรา : (อิต.) ขัณฑสกร ชื่อเครื่องยาชนิด หนึ่งคล้ายน้ำตาลกรวด. น้ำตาลกรวด ก็แปล.
ขราชิน : นป. หนังสัตว์ขรุขระ เช่น เครื่องนุ่งห่มของฤษี
คุรุสารา : อิต. ดอกกล้วยไม้
ฆราชิร : นป. ลานบ้าน, สนามหน้าบ้าน
โฆรราสน : ป. สุนัขจิ้งจอก
จตุมฺมหาราชิก : ค. จาตุมมหาราชิกะ, (หมู่เทวดา)ผู้เป็นบริวารของท้าวจาตุมมหาราชอยู่ในชั้นจาตุมมหาราชซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่หนึ่ง
จิตฺตาคาร จิตฺราคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนอันสวย งาม, ห้องภาพ.
จีวรวิจารณสิพฺพนาทิสมณปริกฺขาราภิสงฺขรณ : (นปุ.) การตกแต่งซึ่งบริขารของสมณะมี การกะและการเย็บซึ่งจีวรเป็นต้น.